Kanjana Tisayaticom ** Viroj Tangcharoensathien**

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
Advertisements

เป้าหมาย เพื่อประสบผลสำเร็จในการลดผู้ติดเชื้อเอ็ชไอวีรายใหม่โดยการบูรณา การยุทธศาสตร์และการปฏิบัติการระหว่างองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จังหวัด และส่วนกลางที่ครอบคลุมเยาวชนอายุ
ประชุมคณะทำงานและคณะ เลขาฯ การจัดทำรายงาน UNGASS ธันวาคม 2550.
การจัดสรรเงินเหมาจ่ายรายหัว สำหรับหน่วยบริการในสังกัด สป.สธ. 2556
การบริหารงบค่าเสื่อม 2557
การทำงานเชิงรุกและการส่งต่อ
งบกองทุนทันตกรรม ปีงบประมาณ 2554
04/04/60 การประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การจัดทำงบประมาณจากเงินรายได้ของมหาวิทยาลัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ วันที่ 13 กุมภาพันธ์ 2556 เวลา
พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ รพ.แหลมสิงห์ จังหวัดจันทบุรี
การดำเนินงานสุขศึกษา ในชุมชน
สถานการณ์สำรวจอนามัยและสวัสดิการ (สอส.) ที่เกี่ยวข้องกับการแพทย์แผนไทย
เอกสารประกอบการประชุมผู้บริหาร มจธ.
Road Map เขตบริการสุขภาพที่ ๑๒
สมรรถนะที่จำเป็นสำหรับผู้รับผิดชอบ การจัดการรายบุคคลในโรงพยาบาล (Case Manager และ Case Management Unit)
II – 2.1 การกำกับดูแลวิชาชีพ ด้านการพยาบาล (Nursing)
ภาพรวมแผนผังเชิงกลยุทธ์ (Strategy Map)
นโยบายการพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อขับเคลื่อนการคลังภาคสุขภาพ
การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ
ความสำเร็จของนโยบายการวางแผนประชากรที่ทำให้อัตราเจริญพันธุ์ลดลง
หลักการสร้างความสัมพันธ์ระหว่างโรงเรียนกับชุมชน
การบริหารงบ PP ปี 52 งบ PP เขต จว./อำเภอ Non-UC สธ. Non-UC สปสช.
ยุทธศาสตร์การวิจัยฉบับที่ 8 ( ) vs ยุทธศาสตร์และแผนวิจัยระบบสาธารณสุข
การบริหารงบบริการสร้างเสริมสุขภาพและ ป้องกันโรคทั่วไป (ยกเว้นค่าบริการทันตกรรมส่งเสริมป้องกัน)
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
แนวทางการสนับสนุนงบประมาณ องค์กรเอกชนด้านเอดส์
ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง
ความคิดเห็นของข้าราชการเกี่ยวกับ สวัสดิการการรักษาพยาบาล พ.ศ. 2546
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ ของขวัญปีใหม่ในปี 2547
การสำรวจความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สรุปผลการรวบรวม ความคิดเห็นของประชาชนที่ซื้อคอมพิวเตอร์จากโครงการคอมพิวเตอร์ ไอซีที เพื่อคนไทย พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร.
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สิงหาคม.
ประชุมกรรมการบริหารศูนย์
ประชุมเพื่อประสานแผน การทำงาน การกำหนดเป้าหมาย และการติดตามกำกับงาน
การบริหารประสิทธิภาพ ด้านการเงินการคลัง ปีงบประมาณ 2551 รพ. บ้านลาด ณ 25 มิถุนายน 2551.
การบริหารประสิทธิภาพ ด้านการเงินการคลัง ปีงบประมาณ 2551 รพ. บ้านลาด ณ 31 สิงหาคม 2551.
การ บริหารประสิทธิภาพ ด้านการเงินการคลัง ปีงบประมาณ 2552 รพ. บ้านลาด ณ 30 เมษายน 2552.
การใช้ข้อมูลจากโปรแกรม NAP
25/07/2006.
การพัฒนาคุณภาพด้านการดูแลรักษาผู้ติดเชื้อและผู้ป่วยเอดส์ ( CQI Story)
การดูแล ผู้ติดเชื้อ / ผู้ป่วยเอดส์ ตำแหน่ง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
ผลการเฝ้าระวัง และป้องกันความล้มเหลวในการรักษาในโรงพยาบาลระโนด จ. สงขลา โดย นส.จาฤดี กองผล, นางละมัย ช่วยแดง พยาบาลประจำคลินิกยาต้านไวรัสโรงพยาบาลระโนด.
ลาวัลย์ สาโรวาท มูลนิธิพีเอสไอ สมัชชากพอ. ชาติ ประจำปี มกราคม 2555.
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
แนวทางการบริหารงบประมาณสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคระดับพื้นที่
นพ. จักรกริช โง้วศิริ ผจก. กองทุนสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค
สรุปการประชุม เขต 10.
โครงการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ (การส่งเสริมให้ส่วนราชการนำร่อง เข้าสู่การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ) เขียนลักษณะสำคัญขององค์กร :
ภูษิต ประคองสาย สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ (IHPP)
บุหรี่และสุรา ความแตกต่างของปัจจัยเสี่ยงทางสุขภาพระหว่าง ครัวเรือนที่มีเศรษฐานะและระดับการศึกษาที่แตกต่างกัน วิชัย โชควิวัฒน สุพล ลิมวัฒนานนท์ กนิษฐา.
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
สรุปบทเรียนโครงการเอดส์ ด้าน CARE
ประสบการณ์และข้อเสนอแนะ แนวทางการเฝ้าระวังโรคและภัย สุขภาพด้านต่างๆ ของแรงงานข้ามชาติ วันที่ 13 มีนาคม 2557 การประชุมวิชาการป้องกันควบคุมโรค แห่งชาติประจำปี
การให้การปรึกษาในการตรวจเอชไอวี แบบฟังผลในวันเดียว Counseling with Same Day HIV Testing 12 July 2011.
การตรวจเลือดเอชไอวี แบบทราบผลในวันเดียว
ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับเกมออนไลน์ ในเขตกรุงเทพมหานคร
Evaluation as a Strategy ; สำนักประเมินผล สำนักงบประมาณ
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
National Health Security Office 1. Subject : งบกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ถึงปี 2554 จะประกอบด้วย 5 กองทุนย่อย 1.งบบริการทางการแพทย์ (งบเหมาจ่ายรายหัว)
แผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2550 – 2552) องค์การบริหารส่วนตำบลทางเกวียน
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ การป้องกันและปราบปรามยาเสพติด (ก่อนและหลัง การประกาศสงครามขั้นแตกหักเพื่อเอาชนะยาเสพติด) พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติ
การพัฒนางานสุขภาพจิต วัยทำงาน - สูงอายุ
การจัดการด้านสุขภาพของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สู่เมืองไทยแข็งแรง รัฐบาลได้ประกาศให้ “ เมืองไทยแข็งแรง ” โดยกำหนด เป้าหมายให้คนไทยแข็งแรงถ้วน หน้า ในปี
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชน
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
1. การ ดำเนินงานตามกฎระเบียบ การประกันสังคม 2. ความสามารถ ในการดำเนินการ เรียกเก็บเงินได้ตามกำหนด 3. ความรวดเร็ว ถูกต้อง ครบถ้วนใน การให้บริการ 4. การมีส่วนร่วมในการดูแลผู้ป่วย.
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE การบริหารงบกองทุนฯ ปีงบประมาณ 2555 เสนอในการประชุมชี้แจงจังหวัด ระหว่างวันที่ 5-6 ตุลาคม.
การป้องกัน การเสริมสร้างบทบาทองค์ ความรู้แก่ผู้นำทาง ความคิดของเด็กและ เยาวชน การพัฒนาความร่วมมือ ของ ภาคีเครือข่าย การขจัดสิ่งยั่วยุและ อิทธิพลจากสื่อ.
ครูวิเชียร มีสม 1 วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 สอนโดย นายวิเชียร มีสม พ หน่วยการเรียนที่ 1 การวางแผนดูแลสุขภาพของ บุคคลในชุมชนและสังคม.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Kanjana Tisayaticom ** Viroj Tangcharoensathien** Health Investment in AIDS การสัมมนาระดับชาติเรื่องโรคเอดส์ ครั้งที่ 11 4 July 2007 อาคารคอนเวนชั่นเซนเตอร์ อิมแพ็ค เมืองทองธานี Kanjana Tisayaticom ** Waranya Teokul* Viroj Tangcharoensathien** * National Economics and Social Development Board, Office of Prime Minister ** International Health Policy Program-Thailand

สถานการณ์ HIV/AIDS ประเทศไทย หัวข้อการนำเสนอ สถานการณ์ HIV/AIDS ประเทศไทย การทำบัญชีรายจ่ายเอดส์ ประเทศไทย : National AIDS Spending Assessment (NASA) ระเบียบวิธีศึกษา การเก็บรวบรวมข้อมูล(Data collection Method and Verification) สรุปผลการศึกษา วิเคราะห์ จุดอ่อน จุดแข็งของการทำบัญชีรายจ่ายเอดส์

วัตถุประสงค์ เพื่อสร้างศักยภาพให้แก่ประเทศในการจัดทำบัญชีรายจ่ายเอดส์ชาติ เพื่อประมาณการรายจ่ายที่เกี่ยวกับเอดส์ และการติดเชื้อไวรัสเอชไอวี ของภาครัฐ และแหล่งการคลังจากภายนอกที่ให้เงินสนับสนุน ในช่วงระยะเวลา 5 ปี พ.ศ. นับแต่ปี พ.ศ. 2543-2547 โดยพิจารณาจากข้อมูลการใช้จ่ายเงิน เข้าใจสถานการณ์ค่าใช้จ่ายในการแก้ปัญหาเอดส์ของประเทศไทย เพื่อให้ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายในการใช้จ่ายงบประมาณ เพื่อเป็นข้อมูลในการจัดสรรทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ เมื่อนำไปพิจารณากับการประมาณการทรัพยากรการเงินที่ต้องการใช้ ทำให้สามารถระบุเงินทุนที่จำเป็นต้องระดมเพิ่มเติมเพื่อสนับสนุนสำหรับโครงการ

สถานการณ์ HIV/AIDS ประเทศไทย HIV and AIDS ESTIMATES 2548 Number of People living with HIV 580000 Adult aged 15 to 49 HIV prevalence 1.4 Adult aged 15 up living with HIV 560000 Women aged 15 and up living with HIV 220000 Deaths due to AIDS 21000 Children aged 0 to 14 living with HIV 16000 National funds spent by government from domestic sources (2004) Us $ 92,821,968 Source: UNGASS CR and SIDALAC

Projection of HIV/AIDS in Thailand, 1985-2010 Source: Bureau of AIDS, TB and STIs and Department of Disease Control, MOPH

Proportion of risk of HIV acquisition among new HIV infections, Thailand, 1988-2010 Source: Bureau of AIDS, TB and STIs and Department of Disease Control, MOPH

ตารางบัญชีรายจ่ายเอดส์ ตารางบัญชีรายจ่ายเอดส์เดียวกันเพื่อแสดงความสัมพันธ์ระหว่าง แหล่งที่มาของเงิน (Financing Source) และหน่วยงานที่จ่ายเงิน (Financing Agent) หน่วยงานที่จ่ายเงิน (Financing Agent) และลักษณะกิจกรรมของระบบสุขภาพ (Healthcare Function) พัฒนามาจาก โครงสร้างของบัญชีรายจ่ายเอดส์ของประเทศไทย (Thailand National AIDS Account) แบบ 2-มิติที่มีอยู่ เมื่อปี พ.ศ. 2543-2546

แหล่งการคลัง และ กิจกรรม หน่วยงานที่จ่ายเงิน (Financing Agent) งบประมาณภาครัฐ แผนสวัสดิการรักษาพยาบาลของข้าราชการ และบุคคลในครอบครัว แผนประกันสังคม แหล่งการคลังภายนอก ลักษณะกิจกรรมของระบบสุขภาพ (Healthcare Function) การป้องกันโรค การรักษาพยาบาล เด็กกำพร้าและเด็กที่ได้รับผลกระทบจากเอดส์ โครงการที่เกี่ยวกับโรคเอดส์

ลักษณะกิจกรรมของระบบสุขภาพ (Healthcare Function) กิจกรรมด้านการป้องกันโรค สื่อสารมวลชน การระดมทุนจากชุมชน การให้คำปรึกษาก่อนการตรวจเลือดเพื่อหาเชื้อไวรัสเอชไอวี และการทดสอบ (เฉพาะกลุ่มประชากรทั่วไป) กลุ่มเยาวชนที่กำลังศึกษาอยู่ กลุ่มเยาวชนที่ไม่รับการศึกษา โครงการที่เน้นกลุ่มผู้ค้าบริการทางเพศ และผู้ซื้อบริการ โครงการที่เน้นกลุ่มชายรักร่วมเพศ โครงการลดอันตรายสำหรับผู้ใช้ยาเสพติดชนิดฉีด สถานที่ทำงาน โครงการป้องกันโรคในกลุ่มผู้ติดเชื้อไวรัสเอชไอวี ประชากรเฉพาะกลุ่ม โครงการส่งเสริมการขายเพื่อสนับสนุนการใช้ถุงยางอนามัย หน่วยงานทั้งภาครัฐ และภาคเอกชนที่ดูแลงานเกี่ยวกับถุงยางอนามัย การปรับปรุงการบริหารงานในส่วนการป้องกันการติดเชื้อจากเพศสัมพันธ์ การป้องกันการติดเชื้อจากแม่สู่ลูก ความปลอดภัยของการให้และรับ การป้องกันโรคภายหลังจากได้รับเชื้อไวรัส (จากสถานพยาบาล การข่มขืน) การฉีดยาที่ปลอดภัย การป้องกันโรคอย่างทั่วถึง

ลักษณะกิจกรรมของระบบสุขภาพ (Healthcare Function) กิจกรรมด้านการรักษาพยาบาล การดูแลรักษาพยาบาลเพื่อบรรเทาโรค การทดสอบเบื้องต้นสำหรับผู้ให้บริการ การรักษาโรคติดเชื้อฉวยโอกาส การป้องกันโรคติดเชื้อฉวยโอกาส โครงการการใช้ยาต้านไวรัส รวมทั้ง การสนับสนุนด้านโภชนาการ การทดสอบทางห้องปฏิบัติการ การดูแลผู้ป่วยที่บ้าน การดูแลผู้ป่วยในช่วงกลางวัน การเคลื่อนย้ายผู้ป่วย เด็กกำพร้า และเด็กที่ได้รับผลกระทบจาก เอชไอวี/เอดส์ (OVC) การให้การศึกษา การสนับสนุนการดูแลรักษาสุขภาพ การสนับสนุนจากครอบครัว การสนับสนุนจากชุมชน ค่าใช้จ่ายขององค์กร

ลักษณะกิจกรรมของระบบสุขภาพ (Healthcare Function) ค่าใช้จ่ายในโครงการด้านเอดส์ ค่าบริหารจัดการ ค่าที่ปรึกษา และการสื่อสาร ค่าบริการการติดตาม และการประเมินผล ทุนวิจัยเชิงปฏิบัติการ (การวิจัย และการพัฒนา) การเฝ้าระวัง (เฉพาะพื้นที่, การเฝ้าระวังพฤติกรรม) ค่าฝึกอบรม ค่าขนส่ง ค่าบริหารจัดการและค่าติดตามผล การเฝ้าระวังการดื้อยา ค่าก่อสร้างสถานพยาบาลแห่งใหม่ ค่าปรับปรุงห้องปฏิบัติการ และสาธารณูปโภคขั้นพื้นฐาน

วิธีการเก็บข้อมูล ประเทศไทย การเก็บข้อมูลทางตรงจากข้อมูลการเงินที่มีอยู่ Actual expenditure – not budget figures Only recurrent expenditure included, capital investment excluded. การคำนวณข้อมูลโดยใช้วิธี PQ (Estimate based on PQ approach) Unit cost of services Total services rendered ข้อมูลเกี่ยวกับรายจ่ายที่เกิดขึ้นจริง จะได้รับข้อมูลจากภาครัฐ และข้อมูลเงินบริจาคที่มีอยู่ เช่น จากกระทรวงสาธารณสุข กรมบัญชีกลาง องค์กรเพื่อการพัฒนา และความร่วมมือทางเศรษฐกิจ กองทุน Global Fund และสำนักงานความร่วมมือเพื่อการพัฒนาระหว่างประเทศ หลังจากที่ตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลแล้ว จะนำข้อมูลที่เกี่ยวกับรายจ่ายทั้งหมดมากรอกลงในแบบจำลอง Matrix โดยเป็นข้อมูลที่ได้รับจากแหล่งที่มาของเงิน(Financing Source) และหน่วยงานที่จ่ายเงิน(Financing Agent) และลักษณะการทำหน้าที่ดูแลสุขภาพทั้ง 5 ประเภทหลักๆ ซึ่งได้ตกลงกันในการสัมมนาเชิงปฏิบัติการเพื่อแนะนำโครงการ (Induction Workshop) การคำนวณข้อมูล เนื่องจากข้อมูลบางส่วนได้ถูกรวบรวมอยู่ในข้อมูลรายจ่ายทั่วไป โดยเฉพาะ รายจ่ายที่เกี่ยวกับการรักษาโรคติดเชื้อฉวยโอกาส ดังนั้น จึงต้องนำวิธีแบบ PQ มาปรับใช้ ทั้งนี้ P จะหมายถึง ค่าใช้จ่ายต่อหน่วย โดยนำข้อมูลมาจากการศึกษาที่มีอยู่ เช่น การปรับตัวเลขจากดัชนีราคาผู้บริโภค เพื่อให้การเปรียบเทียบถูกต้องแม่นยำยิ่งขึ้น ส่วน Q หมายถึง ปริมาณการบริการ หรือกิจกรรมพิเศษอื่นๆ โดยการประเมินปริมาณกิจกรรมที่นำมาปรับใช้ ส่วนใหญ่จะเป็นข้อมูลเกี่ยวกับการระบาดวิทยาเท่าที่มีอยู่ ผลการศึกษาของวิธี PQ จะนำมาใส่ในตารางจำลองโดยใช้สมมุติฐานที่แตกต่างกัน

การรักษาพยาบาลการติดเชื้อฉวยโอกาส OI Treatment PQ Approach  Total expenditure = Price*Quantity Price  Cost of treatment per episode of each opportunistic infection (การศึกษา IHPP-WB ในปี 2546 in 14 PH, DH in 4 provinces) 5 อันดับแรกของโรคติดเชื้อฉวยโอกาส ได้แก่ Mycobacterium tuberculosis , Pulmonary or extra-pulmonary Pneumocystis carinii pneumonia (PCP) Cryptococcosis Candidiasis (Trachea, bronchi) or pulmonary Pneumonia recurrent (Bacteria) ปรับด้วย CPI หมวดค่ายาและเวชภัณฑ์  1,103 บาท อัตราการใช้บริการ แบบผู้ป่วยนอก และผู้ป่วยใน 7.2 ครั้ง/คน/ปี ปี 2547 Cost for OI 1,103*7.2 = 8,511 บาท/คน/ปี

การรักษาพยาบาลการติดเชื้อฉวยโอกาส OI Treatment (ต่อ) Quantity refers to: Total number of patients received treatment for opportunistic infection in each year จำนวนผู้ป่วยที่ต้องรักษาพยาบาลการติดเชื้อในปีที่ Y-1  OI(y-1) จำนวนผู้ป่วยรายใหม่ จาก Weekly Epidemiology Surveillance Report (WESR) จำนวนผู้เสียชีวิต No of OI = OI(y-1) + ((new case – dead)/2) Episode of treatment, อัตราการใช้บริการ แบบผู้ป่วยนอก และผู้ป่วยใน 7.2 ครั้ง/คน/ปี ปี 2547 Cost for OI= 1,103*7.2 = 8,511 บาท/คน/ปี

การรักษาพยาบาลการติดเชื้อฉวยโอกาส OI Treatment (ต่อ) P = 8,511 ครั้ง/ คน / ปี Q = 164,492 คน Total national cost of OI (Baht) = 8,511* 164,492 1,400,040,352 บาท คำนวณค่าใช้จ่ายสำหรับผู้ป่วยนอก ผู้ป่วยใน ตามสัดส่วน OP : IP = 71:29 คำนวณ ค่าใช้จ่ายสำหรับหน่วยจ่ายแทน Financing Agent ก่อน UC  MOPH : CSMBS: SSS: HH  50.4:6.3:6.3.6:37 หลัง UC  HH = OI case* utilization * 30 MOPH = OI exp * 0.54 + (OI exp *0.37 – HH) CSMBS , SSS = OI exp * 0.36

HIV/AIDS spending and selected indicators 2000-2004, current year price รายจ่ายเกี่ยวกับ เอชไอวี / เอดส์ ปี พ.ศ. 2543 2544 2545 2546 2547 รวมทั้งสิ้น(ล้านบาท) 2,623.27 2,571.75 3,174.24 3,549.39 4,943.32 รวมทั้งสิ้น(ล้านดอลลาร์สหรัฐ) 65.4 57.88 73.89 85.56 122.9 ต่อประชากรทั่วไป (บาท) 42.15 41.04 50.27 55.76 77.00 ต่อผู้ติดเชื้อไวรัส และ ผู้ป่วยเอดส์(บาท) 3776.86 3865.30 4998.35 5877.04 8634.86 as % GDP 0.05% 0.06% 0.08% as % Total health expenditure 1.57 1.51 1.96 2.07 2.64 รายงาน NASA ของประเทศไทย แสดงให้เห็นว่า การใช้จ่ายเงินเกี่ยวกับ เอชไอวี/เอดส์เพิ่มขึ้นเกือบสองเท่าภายในระยะเวลา 5 ปี พ.ศ. จาก 2623 ล้านบาทในปี พ.ศ. 2543 เป็น 4943 ล้านบาทในปี พ.ศ. 2547 ดังนั้น รายจ่ายเกี่ยวกับ เอชไอวี/เอดส์ต่อหัว เพิ่มขึ้นจาก 42 บาท ในปี พ.ศ. 2543 เป็น 77 บาทในปี พ.ศ. 2547 ในขณะที่ รายจ่ายต่อหัวของผู้ติดเชื้อไวรัสเอชไอวี และผู้ป่วยเอดส์ เพิ่มขึ้นอย่างเห็นได้ชัดจาก 3777 บาทในปี พ.ศ. 2543 เป็น 8635 บาท (หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 128) ส่วนแบ่งรายจ่ายที่เกี่ยวกับ เอชไอวี/เอดส์ต่อรายจ่ายทั้งสิ้นเพื่อสุขภาพ หรือ Total Health Expenditure (THE) เพิ่มขึ้นจากร้อยละ 1.57 ในปี พ.ศ. 2543 เป็นร้อยละ 2.64 ในปี พ.ศ. 2547 ขณะเดียวกัน รายจ่ายเกี่ยวกับ เอชไอวี/เอดส์ของประเทศไทย เมื่อเปรียบเทียบเป็นร้อยละของผลิตภัณฑ์มวลรวม (ผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ) จะเพิ่มขึ้นจากร้อยละ 0.05 ในปี พ.ศ. 2543 เป็นร้อยละ 0.08 ในปี พ.ศ. 2547 NASA Thailand reveals that, the spending on HIV/AIDS has almost doubled in the last 5 years, from 65.4 million USD in 2000 to 122.90 million USD in 2004. As a result expenditure on, HIV/AIDS spending per capita increased from 1.05 USD in 2000 to 1.91 USD in 2004 while expenditure per capita PLWA increased dramatically from 94.19 USD in 2000 to 214.68 USD in 2004 (128% increase). Share of HIV/AIDS expenditure to total health expenditure (THE) increased from 1.57% in 2000 to 2.64% in 2004. Meanwhile, Thailand spending on HIV/AIDS as a percentage of GDP increased from 0.05% in 2000 to 0.08 % in 2004..

รายจ่าย HIV/AIDS ตามแหล่งที่มาของเงิน หน่วย : ล้านบาท การใช้จ่ายเงินของภาครัฐ ในส่วนของงบประมาณภาครัฐ แผนสวัสดิการรักษาพยาบาลของข้าราชการ และบุคคลในครอบครัว และแผนประกันสังคม มีบทบาทสำคัญในการให้เงินสนับสนุนโครงการต่างๆ ที่เกี่ยวกับเอดส์ในประเทศไทย การใช้จ่ายเงินของภาครัฐนี้ เพิ่มขึ้นเฉลี่ยร้อยละ 10 ต่อปี จากจำนวน 2,478 ล้านบาทในปี พ.ศ. 2543 เป็น 3,737 ล้านบาทในปี พ.ศ. 2547 โดยการใช้จ่ายเงินที่เกี่ยวกับ เอชไอวี/เอดส์จากแหล่งการคลังภายนอก เพิ่มขึ้นเกือบ 9 เท่า จาก 137 ล้านบาทในปี พ.ศ. 2543 เป็น 1,210 ล้านบาทในปี พ.ศ. 2547

รายจ่าย HIV/AIDS ตามหน่วยจ่ายเงิน หน่วย : ล้านบาท ในส่วนของหน่วยงานที่จ่ายเงิน(Financing Agents) นั้น กระทรวงสาธารณสุข รวมทั้งกระทรวงอื่นๆ มีการใช้เงินเพิ่มขึ้นจาก 2,324. 0 ล้านบาทในปี พ.ศ. 2543 เป็น 3,450.2 ล้านบาทในปี พ.ศ. 2547 หรือเพิ่มขึ้นเฉลี่ยร้อยละ 10 ต่อปี แม้จะมีความผันผวนในระหว่างปี พ.ศ. 2543-2544 จากวิกฤตการณ์ทางเศรษฐกิจ ซึ่งประเทศไทยต้องมีวินัยในการใช้จ่ายเงินอย่างเคร่งครัด อย่างไรก็ตาม สัดส่วนการใช้จ่ายเงินจากประกันสังคมต่างๆ เช่น สวัสดิการรักษาพยาบาลของข้าราชการ และบุคคลในครอบครัว (สวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการ) (ประมาณร้อยละ 3.3-3.6) และประกันสังคม (สวัสดิการประกันสังคม) (ประมาณร้อยละ 2.4-3.1) ค่อนข้างจะทรงตัวตลอดช่วงระยะเวลาระหว่างปี พ.ศ. 2543-2547

Thailand HIV/AIDS spending by functions 2000-2004 For spending by function, a major share of HIV/AIDS spending was on treatment and care component. It steadily increased, from 59.5% of total expenditure on HIV/AIDS in 2001 to 84.6% in 2004. This is due to Thailand’s enhancement of the National ART program. The expenditure on prevention has been relatively small, increasing from 18 % in 2000 to 25 % in 2002. However, the share has been falling, especially, in the last 2 years when it fell by half, 25 % in 2002 to 13% in 2004.

Thailand HIV/AIDS spending by functions 2000-2004 ลักษณะการทำหน้าที่ พ.ศ. 2543 2544 2545 2546 2547 กิจกรรมที่เกี่ยวกับการป้องกันโรค 483 18.42% 562 21.87% 778 24.52% 522 14.72% 640 12.96% การดูแลรักษาพยาบาล 1,687 64.30% 1,529 59.46% 2,124 66.90% 2,634 74.21% 4,184 84.64% เด็กกำพร้า และเด็กที่ได้รับผลกระทบจาก เอชไอวี/AIDS 85 3.24% 3.29% 84 2.64% 81 2.27% 41 0.82% ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับโครงการ AIDS 369 14.05% 396 15.39% 188 5.94% 312 8.80% 78 1.58% หน่วย : ล้านบาท สำหรับการใช้จ่ายตามลักษณะการทำหน้าที่ดูแลรักษาพยาบาลที่เกี่ยวกับ เอชไอวี/เอดส์ส่วนใหญ่ จะนำใช้ไปในส่วนของการรักษาพยาบาล โดยมีการใช้จ่ายเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องจากร้อยละ 59.5 ของรายจ่ายทั้งสิ้นของ เอชไอวี/เอดส์ในปี พ.ศ. 2544 เป็นร้อยละ 84.6ในปี พ.ศ. 2547 ทั้งนี้ เป็นผลมาจากการขยายโครงการการเข้าถึงยาต้านไวรัส หรือ National ART Program ในแง่ของตัวเงินแล้ว ในปี พ.ศ. 2547 ค่าใช้จ่ายทั้งสิ้นที่ใช้ไปในการรักษาพยาบาล เอชไอวี/เอดส์เท่ากับ 4,182 ล้านบาท หรือสูงขึ้นถึง 2.48 เท่าจากค่าใช้จ่ายในปี พ.ศ. 2543   รายจ่ายสำหรับการป้องกันโรคมีค่อนข้างน้อย คือ เพิ่มขึ้นจาก 483 ล้านบาทในปี พ.ศ. 2543 เป็น 600 ล้านบาทในปี พ.ศ. 2547 อย่างไรก็ตาม สัดส่วนการใช้จ่ายเงินเริ่มลดลง โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในช่วง 2 ปี พ.ศ.ที่ผ่านมา ที่ลดลงไปเกือบครึ่ง จากเดิมร้อยละ 24.5 ในปี พ.ศ. 2545 เหลือร้อยละ 13.0 ในปี พ.ศ. 2547 นอกจากนี้ รายจ่ายในส่วนของเด็กกำพร้า และเด็กที่ได้รับผลกระทบจาก เอชไอวี/เอดส์ก็ลดลงเช่นเดียวกัน จากเดิมร้อยละ 3.29 ในปี พ.ศ. 2544 เหลือต่ำกว่าร้อยละ 1 ในปี พ.ศ. 2547 ทั้งนี้ ค่าใช้จ่ายในการบริหารจัดการโครงการที่เกี่ยวกับ AIDS จะมีสัดส่วนค่าใช้จ่ายเพียงเล็กน้อย และลดลงอย่างต่อเนื่องจากเดิมร้อยละ 14.05 ในปี พ.ศ. 2543 เหลือเพียงร้อยละ1.58 ในปี พ.ศ. 2547 ในแง่ตัวเงินแล้ว การใช้จ่ายเงินในโครงการที่เกี่ยวกับ AIDS ในปี พ.ศ. 2543 นั้น จะเท่ากับ 4.7 เท่าของจำนวนตัวเลขที่ใช้ไปในปี พ.ศ. 2547

ค่าใช้จ่ายในการป้องกันโรค 2543-2547 โครงการการป้องกันการติดเชื้อจากแม่สู่ลูก (PMTCT) จะได้รับส่วนแบ่งค่าใช้จ่ายมากที่สุดในรายจ่ายที่เกี่ยวกับกิจกรรมการป้องกันโรค โดยมีส่วนแบ่งเพิ่มขึ้นสูงสุดถึงร้อยละ 65 ในปี พ.ศ. 2545 ซึ่งเป็นผลมาจากการได้รับเงินสนับสนุนจากแหล่งการคลังภายนอก ต่างประเทศ ทำให้ประเทศไทยประสบความสำเร็จในการดำเนินโครงการการป้องกันการติดเชื้อจากแม่สู่ลูกได้อย่างทั่วถึง และหลังจากนั้น ส่วนแบ่งรายจ่ายในโครงการนี้เริ่มลดลงเหลือร้อยละ 26 ในปี พ.ศ. 2547 ทั้งนี้ การใช้จ่ายเงินเกี่ยวกับสื่อสารมวลชน มีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้น จากร้อยละ 4 เป็นร้อยละ 8 ในช่วงระยะเวลา 5 ปี พ.ศ.นี้ หน่วย : ล้านบาท

ค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาล องค์ประกอบด้านการรักษา 2543 2544 2545 2546 2547 การรักษาพยาบาลการติดเชื้อฉวยโอกาส 1,125 67% 1,162 76% 1,396 66% 1,430 54% 1,506 36% โครงการการรักษาโดยใช้ยาต้านไวรัส หรือ ART รวมทั้ง การสนับสนุนทางโภชนาการ 498 30% 350 23% 581 27% 860 33% 2,054 49% การทดสอบในห้องทดลอง 27 2% 17 1% 146 7% 343 13% 625 15% การดูแลผู้ป่วยที่บ้าน 37 - 0% รวมค่าใช้จ่ายทั้งหมดที่เกี่ยวกับ เอชไอวี/AIDS ในส่วนที่เกี่ยวกับการดูแลรักษาพยาบาล 1,687 100% 1,529 2,124 2,634 4,184 ในส่วนค่าใช้จ่ายสำหรับการดูแลรักษาพยาบาลนั้น ตารางแสดงให้เห็นว่า ค่าใช้จ่ายในการรักษาโรคติดเชื้อฉวยโอกาส มีส่วนแบ่งมากที่สุด โดยเพิ่มขึ้นร้อยละ 67 ในปี พ.ศ. 2543 เป็นร้อยละ 76 ในปี พ.ศ. 2544 และลดลงเหลือร้อยละ 36 ในปี พ.ศ. 2547 ส่วนค่าใช้จ่ายสำหรับโครงการรักษาโดยให้ยาต้านไวรัส ART กลับเพิ่มขึ้นเกือบห้าเท่า จาก 498 ล้านบาท หรือร้อยละ 30 ในปี พ.ศ. 2543 เป็น 2,054 ล้านบาท หรือร้อยละ 49 ในปี พ.ศ. 2547 สำหรับค่าใช้จ่ายในส่วนของห้องปฏิบัติการ และการทดสอบ เพิ่มขึ้นเช่นเดียวกันจากร้อยละ 2 ในปี พ.ศ. 2544 เป็นร้อยละ 15 ในปี พ.ศ. 2548 ทั้งนี้ เป็นที่สังเกตว่า ในปี พ.ศ. 2548 นั้น ค่าใช้จ่ายในส่วนที่เกี่ยวกับห้องปฏิบัติการ และการทดสอบนั้น หากคิดเป็นตัวเงินแล้ว เพิ่มขึ้นเกือบ 23.24 เท่าเมื่อเปรียบเทียบกับค่าใช้จ่ายเดียวกันเมื่อปี พ.ศ. 2543 นอกจากนี้ แผนภูมิที่ 3.5 แสดงให้เห็นว่า รายจ่ายภาครัฐที่เกี่ยวกับการดูแลรักษาพยาบาลเพิ่มขึ้นสองเท่า นับจากปี พ.ศ. 2543 ถึง ปี พ.ศ. 2544 และความช่วยเหลือจากภายนอกที่เพิ่มขึ้นในปี พ.ศ. 2547 นั้น มีส่วนช่วยสนับสนุนค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวกับโครงการการให้ยาต้านไวรัส ART ที่เพิ่มขึ้นในปี พ.ศ. 2547

ข้อเสนอแนะ การเริ่มแผนการป้องกันโรคใหม่ โดยการเพิ่มรายจ่ายภาครัฐ และเน้นการแทรกแซงไปยังกลุ่มที่มีพฤติกรรมความเสี่ยงสูง การค้นคว้านวัตกรรมกลไกทางการเงินเพื่อเป็นหลักประกันว่า การให้เงินช่วยเหลือด้านยาต้านไวรัส หรือ โครงการ ART แก่ผู้ที่ติดเชื้อไวรัสเอชไอวี และผู้ป่วยเอดส์นั้น จะดำเนินการไปพร้อมกับการรักษาอย่างต่อเนื่อง การจัดตั้งการรวมระบบสารสนเทศ เพื่อให้การบริหารแหล่งเงินทุนที่เกี่ยวกับ เอชไอวี/เอดส์มีประสิทธิภาพมากขึ้น จากรายงาน NASA แสดงให้เห็นอย่างชัดเจนว่า โครงการเกี่ยวกับ เอชไอวี/เอดส์ของประเทศไทย มักมุ่งให้ความสนใจไปที่การรักษาพยาบาล นอกจากนั้น ยังพบว่า การใช้จ่ายเงินของภาครัฐสำหรับการป้องกันโรคในกลุ่มวัยรุ่นที่ยังศึกษาอยู่ หรือไม่ได้รับการศึกษานั้น ค่อนข้างจำกัด ในขณะที่ การป้องกันโรคในกลุ่มที่มีพฤติกรรมเสี่ยงสูง เช่น กลุ่มผู้ใช้ยาเสพติดชนิดฉีด และประชากรกลุ่มพิเศษบางกลุ่มนั้น จะได้รับเงินสนับสนุนจากแหล่งการคลังภายนอก ต่างประเทศ ดังนั้น ภาครัฐจึงควรเพิ่มค่าใช้จ่ายในการป้องกันโรค โดยที่ให้ความสำคัญเป็นอันดับแรกแก่นวัตกรรมการแทรกแซงที่มีเป้าหมายอยู่ที่ประชากรกลุ่มย่อยที่มีพฤติกรรมเสี่ยงสูงก่อน โดยเฉพาะอย่างยิ่งกลุ่มเยาวชนที่มีแนวโน้มจะมีเพศสัมพันธ์ที่ไม่ปลอดภัยเพิ่มขึ้น ในขณะที่โครงการยาต้านไวรัสเอชไอวี อย่างทั่วถึง หรือ Universal ART Program สามารถดำเนินการต่อไปได้ เนื่องจากประเทศไทยสามารถผลิตยาต้านเชื้อไวรัสได้ในราคาที่สามารถหาซื้อได้ รวมทั้ง ได้รับการสนับสนุนจากกองทุน Global Fund นั้น การได้รับยาต้านเชื้อไวรัสอย่างต่อเนื่อง ถือว่า เป็นกุญแจสำคัญในการรักษาระดับการคลังที่เหมาะสม ดังนั้น กิจกรรมต่างๆ ที่ช่วยให้มีการได้รับยาต้านเชื้อไวรัสอย่างต่อเนื่อง จึงควรให้ความสำคัญเป็นอันดับแรกๆ นอกจากนั้น มีความจำเป็นเร่งด่วนที่จะต้องค้นคว้านวัตกรรมกลไกทางการเงินไว้ด้วย หากคาดว่าจะเกิดภาระหนักทางการเงินที่อาจจะเกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงสูตรยาต้านไวรัสเอชไอวี ได้ การได้รับยาถึงจุดอิ่มตัว ต้องการยาสูตรที่ 2 ยานี้มีลิขสิทธิ์ และมีราคาค่อนข้างสูง ดังนั้นจะต้องวางแผนการใช้ยาอย่างรอบคอบ รายงาน NASA เป็นข้อมูลทางการเงินที่มีประโยชน์ในการรายงานการตัดสินใจเกี่ยวกับนโยบาย และการจัดการกับปัญหาที่เกี่ยวกับ เอชไอวี/เอดส์ของประเทศ โดยให้ข้อมูลเกี่ยวกับจำนวนเงินที่ใช้ไป และรูปแบบของการใช้จ่ายเงิน รวมทั้ง ชี้ให้เห็นถึงช่องว่างที่อาจเกิดขึ้นได้ในการระบุถึงปัญหา เอชไอวี/เอดส์ซึ่งข้อมูลทางการเงินที่เกี่ยวข้องได้ถูกรวบรวมไว้ในรายงาน NASA แล้ว อย่างไรก็ตาม ประเทศไทย ยังไม่มีมาตรฐานในการการเก็บรวบรวมข้อมูลเหล่านี้ ดังนั้น จึงมีความจำเป็นที่จะต้องจัดตั้งระบบการรวบรวมสารสนเทศ จากบันทึกการบริหารงาน หรือรายงานประจำวัน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง รายงานเกี่ยวกับการเงินของ เอชไอวี/เอดส์การให้บริการยาต้านไวรัส หรือ โครงการ ART และ การครอบคลุมการป้องกัน เอชไอวี/เอดส์

ข้อดีของวิธีการประมาณค่าใช้จ่ายเอดส์ เป็นฐานข้อมูลที่เป็นมาตรฐาน สามารถเปรียบเทียบกับประเทศต่างๆได้ งบประมาณส่วนมากมาจากภาครัฐ และแหล่งการคลังหลักจากภายนอก ซึ่งมีการเก็บข้อมูลค่าใช้จ่าย สามารถสืบค้นข้อมูลได้ PQ Approach ช่วยให้สามารถคาดการณ์ค่าใช้จ่ายในระดับประเทศได้ในกรณีที่ไม่มีข้อมูลจริง และโดยเฉพาะในกรณีที่มีปัญหาเรื่องความลับ และจริยธรรมในการขอข้อมูล ทำให้มีการประเมินข้อมูลและตรวจสอบว่า การไหลเวียนของเงินทุนว่ามาจากแหล่งใด, มีการใช้จ่ายในกิจกรรมด้านใด, เป็นจำนวนเท่าไร และทราบว่าใครเป็นผู้ตัดสินใจจัดกิจกรรมการให้บริการ แสดงให้เห็นสัดส่วนในการใช้จ่ายงบประมาณในด้านต่างๆ เพื่อเป็นข้อมูลให้กับผู้กำหนดนโยบาย ในการจัดสรรทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ

ข้อด้อยของวิธีการประมาณค่าใช้จ่ายเอดส์ หน่วยงานที่จ่ายเงินต่างๆ มีระบบการรายงานค่าใช้จ่ายเอดส์ที่แตกต่างกัน กิจกรรมของระบบสุขภาพบางรายการมีข้อมูลการใช้จ่ายที่ทับซ้อนกันอยู่เนื่องจากยังไม่มีคำนิยามที่ชัดเจน ความไม่เต็มใจให้ความร่วมมือในการให้ข้อมูลทางการเงินขององค์กรทั้งภาครัฐ, เอกชนและ องค์กรไม่แสวงผลกำไร ตัวเลขงบประมาณ Vs รายจ่ายที่เกิดขึ้นจริง ความแม่นยำของวิธีการคำนวณแบบ PQ Approach รายจ่ายของครัวเรือน และรายจ่ายของนายจ้าง ปัญหาเรื่องความลับ และจริยธรรม

Thank you for your attention ขอบคุณคะ