Reader : Hathaichanok Sumalee Presented in Journal Club 22/10/10

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
Advertisements

การบริหารงบกองทุนฯ ปีงบประมาณ 2556 งบค่าเสื่อม
ชี้แจงการสัมมนากลุ่มย่อย
การสังเคราะห์ประสบการณ์ กระบวนการปฏิรูประบบสุขภาพแห่งชาติ
หลักเกณฑ์การวิเคราะห์ความเสี่ยง ตามหลักธรรมาภิบาล
กุลภัทรา สิโรดม 20 กรกฎาคม 2554
ประกาศหลักเกณฑ์การบริหารกองทุนฯปี ๒๕๕๗
สัปดาห์ที่ 2 เรื่อง โครงการสุขศึกษา
Research Mapping.
ระบบข้อมูลการป่วย ระบบงานที่เกี่ยวข้องกับข้อมูลสาเหตุภายนอก ที่ทำให้บาดเจ็บ ระบบรายงาน ระบบฐานข้อมูลผู้ป่วยในรายบุคคล.
แผนการดำเนินงาน สคร.5 ลำดับที่ กิจกรรม ระยะเวลาดำเนินการ หมายเหตุ 1
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข เขตตรวจราชการที่ 5 ประจำปีงบประมาณ
แนวทางการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
กระบวนการกำหนดนโยบายสาธารณะ
หลักสูตรสาธารณสุขศาสตรบัณฑิต (ส.บ. หรือ B.PH.)
เป้าหมายการให้บริการและยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข
สาระสำคัญในแผนพัฒนาสาธารณสุข
1. การพัฒนาประชาธิปไตย : สถาบัน
ขอบเขตความรับผิดชอบของรัฐบาลท้องถิ่น
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
การส่งเสริมทันต สุขภาพในอนาคต มุมมองของนัก โภชนาการ สง่า ดามาพงษ์ นักวิชาการสาธารณสุขระดับ 9 กรมอนามัย.
การจัดกระบวนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในชุมชน
ขอบเขตความรับผิดชอบของรัฐบาลท้องถิ่น
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
แนวทางการสนับสนุนงบประมาณ องค์กรเอกชนด้านเอดส์
BRAND “ กรมควบคุมโรค ” สรุปการประชุมปฏิบัติการจัดทำสัญญนิยม 19 เมษายน 2550 ณ จังหวัดเชียงใหม่ ประชุมกรมควบคุมโรค 15 พฤษภาคม 2550.
ความคิดเห็นของข้าราชการเกี่ยวกับ สวัสดิการการรักษาพยาบาล พ.ศ. 2546
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
การบริหารกองทุนสุขภาพตำบล
การ บริหารประสิทธิภาพ ด้านการเงินการคลัง ปีงบประมาณ 2552 รพ. บ้านลาด ณ 30 เมษายน 2552.
นพ. ทักษพล ธรรมรังสี แผนงานพัฒนาศักยภาพนักวิจัยด้านนโยบายแอลกอฮอล์
ทำไมต้องปรับระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ?
๒๕ ธ.ค. ๒๕๕๑ ณ โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ คอนเวนชั่น กรุงเทพฯ
กลุ่มที่ 13 ประกอบด้วยกลุ่มบุคคลที่มาจากหลายเขต เช่น เขต 1, 2, 3, 10, 15 มีทั้งหมด 3 ประเด็นด้วยกัน คือ 1. สรุปกระบวนการและข้อเสนอแนะการนิเทศ รพ.สต. รอบที่
นโยบายสร้างความเป็น เอกภาพ ลดความเหลื่อมล้ำของ ๓ กองทุน นายแพทย์สมชัย นิจพานิข รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข.
ปัญหาและแนวทางการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ. สต
แพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือก ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
การดำเนินงานหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพแบบบูรณาการ สู่
สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ
หกมิติความไม่เท่าเทียมระหว่างหญิงชาย หนทางเพื่อพัฒนาสู่ความเสมอภาค
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
บุญเรือง ขาวนวล คณะวิทยาการสุขภาพและการกีฬา
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
บทเรียนการดำเนินการ กองทุนทันตกรรม ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี
ระบบวิจัยสุขภาพ ใน 2 ทศวรรษหน้า
นวัตกรรมสังคม ใน การจัดการระบบสุขภาพ.
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
ทีม นำ “ การนำที่มั่นคง และยั่งยืน ”. “ บางครั้ง การยอมถอยซักก้าว เราจะเห็นทะเลที่ใหญ่ และท้องฟ้าที่สดใสกว่าเดิม ”
องค์ประกอบและระยะเวลาที่ เปลี่ยนแปลง  จากมีวาระ 2 ปี เป็น 4 ปี  เพิ่ม ผู้แทนหน่วยรับเรื่องร้องเรียน อิสระ หรือศูนย์ประสานงานภาค ประชาชน หรือองค์กรเอกชนด้าน.
แนวทางการปฏิบัติงานตามมติคณะรัฐมนตรี เรื่องการให้สิทธิ(คืนสิทธิ)ขั้นพื้นฐานด้านสาธารสุขกับบุคคลที่มีปัญหาสถานะและสิทธิ หิรัญญา ปะดุกา กลุ่มประกันสุขภาพ.
National Health Security Office 1. Subject : งบกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ถึงปี 2554 จะประกอบด้วย 5 กองทุนย่อย 1.งบบริการทางการแพทย์ (งบเหมาจ่ายรายหัว)
สรุปการประชุมระดมความคิด
แผนพัฒนาระบบบริการ สาขาบริการปฐมภูมิ
การปฏิบัติตามนโยบาย ปลัดกระทรวงสาธารณสุข
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
ทีมหมอประจำครอบครัว (Family care team) ดูแลถ้วนทั่วทุกกลุ่มวัย
เป็นผู้นำด้านวิชาการ และเทคโนโลยีการ ป้องกันและควบคุมโรค ระดับจังหวัดและเขต.
เป้าหมาย ตัวชี้วัด กระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ 2558
การจัดการด้านสุขภาพของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สู่เมืองไทยแข็งแรง รัฐบาลได้ประกาศให้ “ เมืองไทยแข็งแรง ” โดยกำหนด เป้าหมายให้คนไทยแข็งแรงถ้วน หน้า ในปี
บ้านเลขที่ 11/7 Family Model สิ่งแวดล้อมและสุขภาพ
การพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ เพื่อลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ จังหวัดอุบลราชธานี นางปริญญา ผกานนท์ นักวิชาการสาธารณสุข 8 ว.
กลุ่มที่ 2 กลุ่มพัฒนาภาคีเครือข่าย สคร.1-12
บทเรียนการดำเนินงาน เครือข่ายผู้เสียหายทางการแพทย์
สิทธิสวัสดิการช่วยเหลือในการรักษาพยาบาล
ประเด็นการตรวจราชการที่ ๕ : ประสิทธิภาพของการ บริหารการเงินการคลัง 2 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด พัทลุง ตัวชี้วัด : ประสิทธิภาพของการบริหารการเงินสามารถ.
หนึ่งปีคณะกรรมการ ปฏิรูป เดชรัต สุขกำเนิด เลขานุการคณะกรรมการปฏิรูป.
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
Output , Outcome , Impact ของระบบสุขภาพ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Reader : Hathaichanok Sumalee Presented in Journal Club 22/10/10 The Universal Health Care Coverage Policy Part I : Agenda Setting Process Source: Pitayarangsarit, S. Reader : Hathaichanok Sumalee Presented in Journal Club 22/10/10

กระบวนการกำหนดนโยบาย มีการนำเสนอแนวคิดเรื่องระบบหลักประกันสุขภาพของนักวิชาการมาเป็นเวลานาน แต่ไม่ได้รับการสนับสนุนหรือถูกนำมาเป็นนโยบายทางการเมือง พรรคไทยรักไทย มองว่าเป็นโอกาสที่ดีที่จะนำแนวคิดนี้ มาเป็นนโยบายในการหาเสียงทางการเมือง พรรคไทยรักไทยได้รับการเลือกตั้งให้เข้ามาบริหารประเทศ นโยบายหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ได้รับการผลักดันอย่างเต็มที่จากรัฐบาล และข้าราชการในกระทรวงสาธารณสุข เกิดกลไกดำเนินการที่สำคัญจากการมีส่วนร่วมของผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องต่างๆ กระบวนการกำหนดนโยบาย

2543 การไม่ใช้บริการสุขภาพที่จำเป็น เนื่องจากปัญหาด้านค่าใช้จ่าย การประสบกับค่าใช้จ่ายสูงด้านการรักษาพยาบาลเมื่อเจ็บป่วยหนัก ความไม่เป็นธรรมจากค่าใช้จ่ายด้านการรักษา ประชาชนบางส่วนยังไม่มีหลักประกันสุขภาพ Problem

2544 ม.ค. พรรคไทยรักไทยได้รับคะแนนเสียงท่วมท้น จากการยกแนวนโยบายนี้ในการหาเสียง เนื่องจากเป็นเรื่องที่เป็นปัญหาใกล้ตัวประชาชน เม.ย. ดำเนินการนำร่อง 6 จังหวัด ครอบคลุมประชาชนที่ยังไม่มีหลักประกันสุขภาพอื่นๆ โดยสถานพยาบาลที่เข้าร่วมเป็นสังกัด กสธ. เท่านั้น มิ.ย. ขยายพื้นที่ดำเนินการไปอีก 15 จังหวัด และมี รพ.เอกชนเข้าร่วม ต.ค. ขยายโครงการ 30 บาท ครบทุกจังหวัด ยุบรวมโครงการ สปร. เป็นบัตรทองหมวด ท ( ไม่ต้องจ่าย 30 บาท ) เลิกขายบัตรสุขภาพ 500 บาท เปลี่ยนเป็นบัตรทองทั้งหมด 2545 เม.ย. ขยายพื้นที่ดำเนินการครอบคลุมทุกเขตของกรุงเทพฯ ทำให้โครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าสามารถดำเนินการครอบคลุมพื้นที่ทั้งประเทศตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน พ.ศ.2545 เป็นต้นมา

A policy analysis framework (Walt and Gilson) Context Actors Content Process Agenda setting

นโยบายมีความชอบธรรม แก้ปัญหาประชาชนได้จริง Content นโยบายมีความชอบธรรม แก้ปัญหาประชาชนได้จริง นโยบายมีหลักการที่สอดคล้องกับค่านิยมของคนไทย มีความเป็นไปได้ทางการคลัง และทางการจัดการ Context การเปลี่ยนแปลงทางสังคมการเมือง สภาวะเศรษฐกิจ โครงสร้างระบบบริการสุขภาพและทรัพยากรด้านสุขภาพ กระแสการปฏิรูปสุขภาพ

Actors พรรคการเมือง ข้าราชการกระทรวงสาธารณสุข กลุ่มนักวิชาการ ข้าราชการผู้นำนโยบายไปปฏิบัติ ประชาสังคมด้านสุขภาพ Agenda setting Process Problem Stream Policy Stream Politics Steam

Kingdon’s - 3 Stream model No Change Problem Policy (Solutions) Politics (Political will) Kingdon’s - 3 Stream model ACTION

ความเป็นไปได้ทางวิชาการ ความเป็นไปได้ทางการเมือง บทสรุป ความเป็นไปได้ทางวิชาการ Problem Agenda Setting ความเหมาะสมของบริบท Policy ความเป็นไปได้ทางการเมือง Politics

References Pitayarangsarit S. The Introduction of the Universal Coverage of Health Care Policy in Thailand: Policy Responses. PhD Thesis. London School of Hygiene and Tropical Medicine, 2004.