Reader : Hathaichanok Sumalee Presented in Journal Club 22/10/10 The Universal Health Care Coverage Policy Part I : Agenda Setting Process Source: Pitayarangsarit, S. Reader : Hathaichanok Sumalee Presented in Journal Club 22/10/10
กระบวนการกำหนดนโยบาย มีการนำเสนอแนวคิดเรื่องระบบหลักประกันสุขภาพของนักวิชาการมาเป็นเวลานาน แต่ไม่ได้รับการสนับสนุนหรือถูกนำมาเป็นนโยบายทางการเมือง พรรคไทยรักไทย มองว่าเป็นโอกาสที่ดีที่จะนำแนวคิดนี้ มาเป็นนโยบายในการหาเสียงทางการเมือง พรรคไทยรักไทยได้รับการเลือกตั้งให้เข้ามาบริหารประเทศ นโยบายหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ได้รับการผลักดันอย่างเต็มที่จากรัฐบาล และข้าราชการในกระทรวงสาธารณสุข เกิดกลไกดำเนินการที่สำคัญจากการมีส่วนร่วมของผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องต่างๆ กระบวนการกำหนดนโยบาย
2543 การไม่ใช้บริการสุขภาพที่จำเป็น เนื่องจากปัญหาด้านค่าใช้จ่าย การประสบกับค่าใช้จ่ายสูงด้านการรักษาพยาบาลเมื่อเจ็บป่วยหนัก ความไม่เป็นธรรมจากค่าใช้จ่ายด้านการรักษา ประชาชนบางส่วนยังไม่มีหลักประกันสุขภาพ Problem
2544 ม.ค. พรรคไทยรักไทยได้รับคะแนนเสียงท่วมท้น จากการยกแนวนโยบายนี้ในการหาเสียง เนื่องจากเป็นเรื่องที่เป็นปัญหาใกล้ตัวประชาชน เม.ย. ดำเนินการนำร่อง 6 จังหวัด ครอบคลุมประชาชนที่ยังไม่มีหลักประกันสุขภาพอื่นๆ โดยสถานพยาบาลที่เข้าร่วมเป็นสังกัด กสธ. เท่านั้น มิ.ย. ขยายพื้นที่ดำเนินการไปอีก 15 จังหวัด และมี รพ.เอกชนเข้าร่วม ต.ค. ขยายโครงการ 30 บาท ครบทุกจังหวัด ยุบรวมโครงการ สปร. เป็นบัตรทองหมวด ท ( ไม่ต้องจ่าย 30 บาท ) เลิกขายบัตรสุขภาพ 500 บาท เปลี่ยนเป็นบัตรทองทั้งหมด 2545 เม.ย. ขยายพื้นที่ดำเนินการครอบคลุมทุกเขตของกรุงเทพฯ ทำให้โครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าสามารถดำเนินการครอบคลุมพื้นที่ทั้งประเทศตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน พ.ศ.2545 เป็นต้นมา
A policy analysis framework (Walt and Gilson) Context Actors Content Process Agenda setting
นโยบายมีความชอบธรรม แก้ปัญหาประชาชนได้จริง Content นโยบายมีความชอบธรรม แก้ปัญหาประชาชนได้จริง นโยบายมีหลักการที่สอดคล้องกับค่านิยมของคนไทย มีความเป็นไปได้ทางการคลัง และทางการจัดการ Context การเปลี่ยนแปลงทางสังคมการเมือง สภาวะเศรษฐกิจ โครงสร้างระบบบริการสุขภาพและทรัพยากรด้านสุขภาพ กระแสการปฏิรูปสุขภาพ
Actors พรรคการเมือง ข้าราชการกระทรวงสาธารณสุข กลุ่มนักวิชาการ ข้าราชการผู้นำนโยบายไปปฏิบัติ ประชาสังคมด้านสุขภาพ Agenda setting Process Problem Stream Policy Stream Politics Steam
Kingdon’s - 3 Stream model No Change Problem Policy (Solutions) Politics (Political will) Kingdon’s - 3 Stream model ACTION
ความเป็นไปได้ทางวิชาการ ความเป็นไปได้ทางการเมือง บทสรุป ความเป็นไปได้ทางวิชาการ Problem Agenda Setting ความเหมาะสมของบริบท Policy ความเป็นไปได้ทางการเมือง Politics
References Pitayarangsarit S. The Introduction of the Universal Coverage of Health Care Policy in Thailand: Policy Responses. PhD Thesis. London School of Hygiene and Tropical Medicine, 2004.