ที่มีต่อสำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
Advertisements

มูลนิธิสถาบันที่ดิน 9 กรกฎาคม 2550
การบริหารจัดการเพื่อ พัฒนาผลการปฏิบัติงาน
วาระที่ 3.6 ความก้าวหน้าของการดำเนินงานเกี่ยวกับตัวชี้วัด (กพร.)
หลักการสำคัญ ในการปรับปรุงกฎหมาย ว่าด้วยระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี
การปฏิบัติและจัดการงาน ให้มีประสิทธิภาพ
เทคนิคการบริหารงานด้านการเงินและบัญชี
เรื่องสืบเนื่อง การวางแผนและบริหารโครงการสำหรับส่วน ราชการ
กระทำหน้าที่ตามเป้าหมายขององค์กรอย่างสมบูรณ์
จัดตั้งงานประสานศูนย์วิทยพัฒนา 25 สิงหาคม 2550
โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การจัดทำแผนการพัฒนาและการปฏิบัติการ ของโครงการโดยเจ้าหน้าที่โครงการมีส่วนร่วม ปี พ.ศ.2552.
ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ภาพรวมแผนผังเชิงกลยุทธ์ (Strategy Map)
การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ
สรุปการประชุม ครั้งที่ 1 วันที่ 4-5 เมษายน 2555 สรุปการประชุม ครั้งที่ 1 วันที่ 4-5 เมษายน 2555.
วิสัยทัศน์กรมส่งเสริมสหกรณ์ (Vision) ปี
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
นโยบายด้านการบริการวิชาการ
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
แผนที่ยุทธศาสตร์สำนักพัฒนาโครงสร้างและระบบบริหารงานบุคคล
การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
หลักการบริหารภาครัฐยุคใหม่
หมวด2 9 คำถาม.
การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ วัฒนธรรม ค่านิยมในการทำงานราชการยุคใหม่
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงเพื่อสร้างความโปร่งใส ในกระบวนงานกระบวนการพัฒนาและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิเยาวชน (การเสริมสร้างความเข้มแข็งสภาเด็กและเยาวชน) ของสำนักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก.
ภารกิจและนโยบาย 6 ยุทธศาสตร์ 35 กลยุทธ์ ของ ส.อ.ศ. บัญญัติ สมสุพรรณ
แผนปฏิบัติราชการการศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
ผลการดำเนินงานองค์กร (Performance Measurement)
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
โดย ผู้อำนวยการสำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
สรุปผลการจัดทำ(ร่าง)แผนยุทธศาสตร์(พ.ศ )
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
1 เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ กลุ่มที่ 5. 2 สมาชิกกลุ่ม 18.
สรุปประเด็นการประชุมสัมมนากลุ่มย่อย
การตรวจรับรองเกณฑ์คุณภาพการบริหาร จัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (Certify FL) 1.
องค์กรนำการปศุสัตว์ไทย
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
คน Man ผู้บริหาร บุคลากรของทุกระดับ.
เชื่อมโยงยุทธศาสตร์ กับนโยบายรัฐบาล และ วท.
Blueprint for Change ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลง (Blueprint for Change) คืออะไร ? เทคนิคการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารราชการให้เกิดความพร้อมในการสนับสนุนและผลักดันให้ยุทธศาสตร์ของส่วนราชการเกิดผลทางปฏิบัติ
แผนปฏิบัติราชการ พ.ศ ของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
การบริหารสู่ความเป็นเลิศ
โครงการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA : Public Sector Management Quality Award) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ
ทำไมต้องปรับระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ?
Participation : Road to Success
การบริหารเชิงยุทธศาสตร์
การบริหารงานจังหวัดลพบุรีแบบ บูรณาการ กพร.- TRIS 18/05/2549.
ประโยชน์ต่อส่วนราชการ
ระเบียบวาระการเตรียมทีมนิเทศงาน ปี 2557
“การพัฒนาสำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด สู่การเป็นองค์กรสมรรถนะสูง”
Strategy Map สำนักส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 4 จังหวัดขอนแก่น ปีงบประมาณ พ.ศ ร้อยละหรือระดับความสำเร็จของการดำเนินงานโครงการ/กิจกรรมตามแผนงานโครงการปี
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
(ร่าง) แผนปฏิบัติราชการประจำปี 2553 สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
หมวด 6 การจัดการกระบวนการ Process Management
กระบวนการที่สร้างคุณค่า และ กระบวนการสนับสนุน
วิสัยทั ศน์ เป็นองค์กรที่เป็นเลิศด้าน การแก้ไขปัญหาสุขภาพจิตจาก แอลกอฮอล์ของประเทศและ พัฒนาระบบบริการสุขภาพจิต และจิตเวชในเครือข่ายบริการ สุขภาพจิตที่
การวางแผนยุทธศาสตร์.
ประสบการณ์การบริหาร มหาวิทยาลัย ๑๕ มีนาคม ๒๕๕๐. เรื่องที่เกี่ยวข้องกับการ บริหารมหาวิทยาลัย โครงสร้าง กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ รูปแบบการบริหารและขอบเขต อำนาจ.
แนวทาง KM ทร. ปี 53 ที่เชื่อมโยงและถ่ายทอดสู่ รร.นร.
กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร กรมอนามัย
กลุ่มที่ 2 กลุ่มพัฒนาภาคีเครือข่าย สคร.1-12
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ที่มีต่อสำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด การสัมมนาเชิงปฏิบัติการ การพัฒนาสำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด สู่การเป็นองค์กรสมรรถนะสูง 2 ความคาดหวัง ที่มีต่อสำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด โดย หัวหน้าผู้ตรวจราชการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (นายนิรันดร เอื้องตระกูลสุข)

ประเด็น ลำดับขั้นการพัฒนา การใช้ความเป็นผู้นำไปสู่การปฏิบัติ การบูรณาการสู่การปฏิบัติในระดับพื้นที่ การคาดหวังของผู้ตรวจราชการต่อ เกษตรและสหกรณ์จังหวัดในการตรวจราชการ

ลำดับขั้นการพัฒนา  Smart Leader  Smart Organization เป้าหมาย กระบวนการ ระยะเวลา สถานที่ ผู้ร่วมประชุม  Smart Leader วิเคราะห์โจทย์ผู้บริหาร พัฒนาศักยภาพตนเอง  ปลัดฯ มอบนโยบาย  รองปลัดฯ เสวนา - ประสบการณ์/ วิธีการแก้ไขปัญหา - การแปลงนโยบาย สู่การปฏิบัติ - กระบวนการรับฟัง ข้อคิดเห็นและ แนวทางการ แก้ไขปัญหา ในพื้นที่  ผู้แทนส่วนราชการ ชี้แจงสาระสำคัญ Country Strategy  ผู้ร่วมประชุม : ระดม ความเห็นทำข้อเสนอ เพิ่มประสิทธิภาพ พย. (2 วัน) กรุงเทพฯ เกษตรและสหกรณ์จังหวัด (76 คน)  Smart Organization (I) พัฒนาตนเองและ สำนักงาน  ปลัดฯ มอบนโยบาย  รองปลัดฯ ผู้ตรวจฯ เสวนาความคาดหวัง ที่มีต่อสนง.กษ.จ.  กระบวนงาน สนง.กษ.จ.  การสมัครขอรับรางวัล บริการภาครัฐแห่งชาติ  การประกวดสำนักงาน และคัดเลือกคน ขององค์กร  พัฒนาศักยภาพสู่ Smart Officer (I)  ผู้ร่วมประชุม : ระดม ความเห็นทำข้อเสนอ การสร้าง Smart Officer ของสนง.กษ.จ. เพื่อนำ การสร้างทีมกระทรวง ในส่วนภูมิภาค ธค. (3 วัน) 4 ภาค (ชม/สพ/ขก/สข) เกษตรและสหกรณ์จังหวัด + หัวหน้ากลุ่ม (304 คน)  Smart Management แก้ไขปัญหาสินค้าเกษตร อย่างยั่งยืน  รองปลัดฯ เสวนา แนวทางนโยบาย การบริหารจัดการ พื้นที่เกษตรกรรม  แนวทางการแก้ไข ปัญหาราคาสินค้า เกษตรอย่างยั่งยืน (สศก.)  ผู้ร่วมประชุม : ระดม ความเห็นข้อเสนอ เพื่อการแก้ไข มค. (1 วัน) 4 ภาค (ชม/สพ/ขก/สข) ส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง + ผู้แทนภาคส่วนต่างๆ (800 คน)  Smart Change Agent สร้างเครือข่าย วัฒนธรรมองค์การ สร้างเครือข่าย การพัฒนางานของสป.กษ. โดย เลือกเจ้าหน้าที่ ตัวแทนสำนักงาน - เก่ง/ดี - เป็นที่ยอมรับ ในองค์กร - มีสัมพันธ์อันดี กับหน่วยงาน ภายนอก ทั้งจากส่วนภูมิภาคและส่วนกลาง กพ. (3 วัน) นครนายก จนท.สนง.กษ.จ. (76 คน + ส่วนกลาง)  Smart Organization (II) ทบทวนผล ปี 57 วางแผนพัฒนา ปี 58  ปลัดฯ มอบนโยบาย  รองปลัดฯ ผู้ตรวจ ติดตามผลและ นำเสนอทิศทาง การทำงาน ปี 2558  ทบทวนกระบวนงาน สนง.กษจ.  พัฒนาศักยภาพสู่ Smart Officer (II)  ผู้ร่วมประชุม : ระดม ความเห็นทำข้อเสนอ การพัฒนาองค์กร ในอนาคต สค. (3 วัน) 4 ภาค (ชม/สพ/ขก/สข) เกษตรและสหกรณ์จังหวัด + หัวหน้ากลุ่ม (304 คน)

การใช้ความเป็นผู้นำไปสู่การปฏิบัติ 1. เป็นผู้นำแนวความคิด 2. เป็นผู้นำการปฏิบัติ 1. เป็นผู้นำแนวความคิด 1) เกษตรกร หรือประชาชนทั่วไปเป็นศูนย์กลางในการทำงาน - รับฟังความคิดเห็น - ตอบสนองความต้องการ 2) ใช้คนและทรัพยากรเหมาะสม กับบทบาทภารกิจ 3) มีทัศนคติในการทำงานร่วมกัน - บูรณาการการทำงานร่วมกับส่วนราชการอื่น - สร้างเครือข่ายความร่วมมือ (หน้าขั้น ส่วนที่ 3 มี 2 หัวข้อย่อย)

การใช้ความเป็นผู้นำไปสู่การปฏิบัติ 1. เป็นผู้นำแนวความคิด (ต่อ) 4) มีขีดความสามารถในการรับรู้ และเรียนรู้ - มองไปข้างหน้าและคาดการณ์ล่วงหน้า - มีความยืดหยุ่นคล่องตัว - สามารถคิดริเริ่ม - บริหารการเปลี่ยนแปลง 5) สร้างระบบธรรมาภิบาลในการกำกับดูแลตนเองที่ดี 6) มีความเป็นเลิศในการปฏิบัติงาน - ใช้ข้อมูลที่ถูกต้อง - ใช้เทคโนโลยีเป็น 7) แสวงหา พัฒนา และรักษาบุคลากรที่มีความรู้ ความสามารถ

การใช้ความเป็นผู้นำไปสู่การปฏิบัติ 2. เป็นผู้นำการปฏิบัติ 1) นำองค์กรอย่างมีวิสัยทัศน์ - “กำหนด”ทิศทาง และ “ชี้นำ” การดำเนินงาน - “สร้างวิธีการ” ให้บรรลุผลการดำเนินงาน - ติดตามและทบทวนผลการดำเนินงาน “สม่ำเสมอ” - สร้างแรงบันดาลใจ / กระตุ้นให้บุคลากรมีส่วนร่วม ในการสร้างผลงานขององค์กร - มีส่วนร่วมในการวางแผน การสื่อสาร การสอนงาน และการพัฒนาผู้นำในอนาคต - เป็นแบบอย่างที่ดี และผลักดันการสร้างองค์กร ที่มีคุณธรรม

การใช้ความเป็นผู้นำไปสู่การปฏิบัติ 2. เป็นผู้นำการปฏิบัติ (ต่อ) 2) มุ่งเน้นการสร้างประโยชน์ให้ผู้รับบริการ - ให้ความสำคัญกับความต้องการของผู้รับบริการ - สร้างความพึงพอใจให้กับผู้รับบริการ (ลดข้อผิดพลาด/ลดข้อร้องเรียน/ สร้างความไว้วางใจ และรับฟังความคิดเห็น) 3) สร้างการเรียนรู้ให้กับองค์กรและบุคลากร - สร้างแนวทางการเรียนรู้ขององค์กรและบุคลากร (ศึกษา/อบรม) - จัดทำกระบวนการเรียนรู้ สร้างองค์ความรู้ และ วิธีการถ่ายทอด และพัฒนาการเรียนรู้ (ฐานข้อมูลการทำงาน)

การใช้ความเป็นผู้นำไปสู่การปฏิบัติ 2. เป็นผู้นำการปฏิบัติ (ต่อ) 4) ให้ความสำคัญกับบุคลากรและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย - ให้ความสำคัญในความสำเร็จของบุคลากร - สนับสนุนความก้าวหน้าของบุคลากร - ส่งเสริมให้บุคลากรกล้าคิดกล้าทำ 5) สร้างความคล่องตัวให้องค์กร - สร้างกระบวนการที่สามารถรองรับการเปลี่ยนแปลง ได้อย่างรวดเร็วและทันต่อเวลา - สร้างกระบวนการให้องค์กรสามารถปรับปรุง ระบบงานได้ตลอดเวลา

การใช้ความเป็นผู้นำไปสู่การปฏิบัติ 2. เป็นผู้นำการปฏิบัติ (ต่อ) 6) การมุ่งเน้นอนาคต - วางแผนองค์กรโดยคาดการณ์ล่วงหน้ารองรับ การเปลี่ยนแปลงในอนาคต - สร้างวัฒนธรรมการทำงานที่แสวงหาวิธีการ ทำงานที่ดีขึ้น 7) การจัดการเพื่อนวัตกรรม จัดทำกระบวนการให้องค์กรมีวัฒนธรรมการทำงาน สนับสนุนให้เกิดนวัตกรรม 8) การจัดการโดยใช้ข้อมูลจริง - กำหนดให้มีข้อมูลและสารสนเทศ ที่ครอบคลุม และครบถ้วน - กำหนดให้มีวิธีการ กระบวนการ และการจัดการข้อมูล ที่มีความพร้อมสามารถสนับสนุนการปฏิบัติงาน และการตัดสินใจ

การใช้ความเป็นผู้นำไปสู่การปฏิบัติ 2. เป็นผู้นำการปฏิบัติ (ต่อ) 9) ความรับผิดชอบต่อสังคม ให้ความสำคัญต่อผลกระทบด้านต่างๆ 10) การมุ่งเน้นที่ผลลัพธ์และการสร้างคุณค่า - แสดงให้เห็นการให้ความสำคัญผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น จากการดำเนินการขององค์กร - ให้ความสำคัญกับผลลัพธ์ที่สร้างคุณค่าให้กับ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียเพื่อรักษาภาพลักษณ์ที่ดี ขององค์กร 11) มุมมองในเชิงระบบ มีความเข้าใจที่จะเชื่อมโยงกลยุทธ์เข้ากับ กระบวนการที่สำคัญและการจัดสรรทรัพยากร “แม่ทัพไม่จำเป็นต้องเก่งทุกเรื่อง แต่ต้องมีเรื่องชำนาญ และใช้ความจัดเจนนั้นให้เป็นประโยชน์ได้” : สามก๊ก

ผลักดัน : แนวคิด (การพัฒนา/ ความรับผิดชอบ) สนับสนุน ผลักดัน : แนวคิด (การพัฒนา/ ความรับผิดชอบ) ส่งเสริม : การปฏิบัติ การใช้ความเป็นผู้นำไปสู่การปฏิบัติ ปฏิบัติ ทำอะไร ทำตามหน้าที่ : ทำสิ่งที่ถูก ทำนอกหน้าที่ : ทำให้ถูก ควรทำอะไร (Proactive) เรื่องที่ต้องทำ (ยังไม่ได้ทำ) เรื่องที่ต้องเร่งทำ (ตอบสนองเกษตรกร) “เลือกทำในสิ่งที่ถูก ทำในสิ่งที่เลือกให้ถูก” Do the right things Do the things right เป็น “ ผู้รับการเปลี่ยนแปลงที่ดี” และ “นำการปรับเปลี่ยนที่ถูก”

การบูรณาการสู่การปฏิบัติในระดับพื้นที่ หลักคิด เครื่องมือ (Tools) Vision Dream Mission Action Defined Drive พัฒนาคน พัฒนางาน Want to do Can do Best Practice งานได้ผล คนได้สุข

หลักการ การสื่อสารขับเคลื่อนการดำเนินงาน ปริมาณ คุณภาพ การบูรณาการสู่การปฏิบัติในระดับพื้นที่ หลักการ นโยบาย....ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ การสื่อสารขับเคลื่อนการดำเนินงาน ปริมาณ ความรับ ผิดชอบ ต่อคุณภาพ ของผลงาน การใช้ ความคิด สร้างสรรค์ คุณภาพ สั่งสม ความรู้ ทักษะ 1. เชื่อมโยง บนลงล่าง (Top-down) 2. เชื่อมโยง แนวนอน (Horizontal) 3. เชื่อมโยง ล่างขึ้นบน (Bottom-up) ทิศทางการพัฒนา....ของ ยุทธศาสตร์จังหวัด/กลุ่มจังหวัด 13

แผนพัฒนา จังหวัด... หลักปฏิบัติ สำนักงาน...จังหวัด เป้าประสงค์ การบูรณาการสู่การปฏิบัติในระดับพื้นที่ หลักปฏิบัติ วิสัยทัศน์กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ “ เกษตรกรมีคุณภาพชีวิตที่ดี ประชาชนมีความมั่นคงด้านอาหาร เป็นฐานสร้างรายได้ให้แผ่นดิน” วิสัยทัศน์และพันธกิจ กรม วิสัยทัศน์และพันธกิจ กรม กรม สำนักงาน...จังหวัด แผนพัฒนา จังหวัด... เป้าประสงค์ ตัวชี้วัด กลยุทธ์/แผนงาน ค่าเป้าหมาย

การคาดหวังของผู้ตรวจราชการ ต่อเกษตรและสหกรณ์จังหวัดในการตรวจราชการ 1. เป็นเสมือนตัวแทนของสำนักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ในพื้นที่ระดับจังหวัด 2. ความสามารถในการบูรณาการในพื้นที่ ภายนอกและภายใน 3. ให้ความสำคัญกับการตรวจราชการ 4. สร้างวัฒนธรรมการต้อนรับที่เรียบง่าย 5. เสมือนเป็นเลขานุการของผู้ตรวจราชการในพื้นที่ 6. เป็นผู้รายงานในลักษณะบูรณาการในจังหวัด โดยให้แต่ละ หน่วยงานชี้แจงเพิ่มเติมหากต้องการทราบรายละเอียดเพิ่มเติม 7. ผู้ชี้แจงควรเป็นผู้ที่มีความรู้ความสามารถในเรื่องนั้นๆ 8. หัวหน้าส่วนราชการควรเข้าประชุมด้วยตนเอง (หน้าขั้น ส่วนที่ 3 มี 2 หัวข้อย่อย)

การคาดหวังของผู้ตรวจราชการ ต่อเกษตรและสหกรณ์จังหวัดในการตรวจราชการ 9. จัดเตรียมข้อมูลทั้งเชิงคุณภาพและปริมาณ 10. ให้ความเชื่อมั่นและศรัทธาในตัวผู้ตรวจราชการ 11. รายงานข้อเท็จจริงให้มากที่สุด 12. สร้างวัฒนธรรมองค์กรร่วมกันของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (ทัศนคติ บูรณาการด้วยใจ) 13. ชี้แจงเกษตรกรให้ทราบประโยชน์ (มีการจูงใจ) 14. สร้างกิจกรรมละลายพฤติกรรมบุคลากรทุกระดับในพื้นที่ (หน้าขั้น ส่วนที่ 3 มี 2 หัวข้อย่อย)

จากวงจรอุบาทว์ สู่วงจรดีงาม ท้าทายความคิด ก้าวหน้า เรียนรู้และเข้าใจ ปรับปรุงต่อเนื่อง และพัฒนา เน้นแผน การวิเคราะห์เชิงยุทธศาสตร์ การมีส่วนร่วม ทำงานเป็นขั้นตอน ทำงานเก่ง กระบวนงานสั้น โครงสร้างเหมาะสม คนมีสมรรถนะ ผู้นำเก่ง เพียงพอ คุ้มค่า การตรวจสอบที่ดี การเรียนรู้ ความประหยัด ระบบบริหารราชการ: จากวงจรอุบาทว์ สู่วงจรดีงาม

“ในชีวิตราชการจะทำอะไรให้เกษตรกร” เคยคิด หรือ คิดที่จะทำ ??? ท้าทายความคิด รู้ 1. อำนาจหน้าที่ (ตนเอง, หน่วยงาน) 2. SWOT องค์กร 3. ระบบ และวิธีการทำงาน ขององค์กร 4. การบูรณาการ การทำงาน  เปลี่ยน 1. ตำแหน่ง / หน่วยงาน 2. ไม่มีเจ้าหน้าที่ระดับปฏิบัติการ 3. การจัดกลุ่มภารกิจ 4. การถ่ายโอนภารกิจ 5. การตอบสนองเกษตรกร (สภาเกษตรกร) 6. ระบบโลจิสติกส์ และการตลาด 7. เกษตรกรรู้มากกว่านักวิชาการ กระทรวง 8. ไม่มีเกษตรกรรุ่นใหม่ สรุป “ในชีวิตราชการจะทำอะไรให้เกษตรกร” เคยคิด หรือ คิดที่จะทำ ???