น.สพ.ไพรัช ธิติศักดิ์ 27 มกราคม 2553 “อาหารสัตว์..จะรุ่งโรจน์หรือร่วงโรยในปี 53” สมาคมผู้ค้าเวชภัณฑ์สำหรับสัตว์ น.สพ.ไพรัช ธิติศักดิ์ 27 มกราคม 2553
OUTLINE I. จุดเด่นของอุตสาหกรรมการเลี้ยงสัตว์ของไทยในปัจจุบัน II. การเปิดการค้าเสรีสินค้าเกษตร AFTA/AEC 2015 III.ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อธุรกิจปศุสัตว์ IV.เวชภัณฑ์สำหรับสัตว์
I.จุดเด่นของอุตสาหกรรมการเลี้ยงสัตว์ของไทยในปัจจุบัน 1.พันธุ์สัตว์และการปรับปรุงพันธ์ที่ดี ทำให้สามารถปรับตัวเข้ากับการเลี้ยงภายในประเทศได้ดี 2.มีบุคลากรที่มีความรู้ ความสามารถและมีเทคโนโลยีที่ทันสมัย 3.มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการจัดการฟาร์มเป็นอย่างดีและมีระบบโครงสร้างฟาร์มที่ทันสมัย - ระบบฟาร์มเป็นแบบ Evaporative system - ระบบพลังงานทดแทนไฟฟ้า( Biogas)
I.จุดเด่นของอุตสาหกรรมการเลี้ยงสัตว์ของไทยในปัจจุบัน 4.มีความร่วมมือระหว่างภาครัฐและเอกชนในการพัฒนารูปแบบกระบวนการผลิตให้ได้อาหารปลอดภัย, มีมาตรฐานสูงและเป็นที่ยอมรับของผู้บริโภคทั่วโลก ซึ่งมีความโดดเด่นและแตกต่างจากประเทศคู่แข่ง 5.มีการพัฒนาผลิตภัณฑ์ที่หลากหลาย รองรับกลุ่มผู้บริโภค ในภูมิภาคต่างๆ กลุ่มประชาคมยุโรปและญี่ปุ่น, เกาหลี เน้นอาหารปลอดภัย ปลอดสารตกค้าง อาหารฮาลาล สำหรับกลุ่มประเทศตะวันออก
I.จุดเด่นของอุตสาหกรรมการเลี้ยงสัตว์ของไทยในปัจจุบัน 6.สินค้าเป็นที่ยอมรับของผู้บริโภคทั่วโลก ช่วง 5 ปีที่ผ่านมาสินค้าเกษตรและอาหารขยายตัวโดยเฉลี่ย 10.7 % (สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร, กษ.) 7.มีสมาคมผู้เลี้ยงสัตว์, ผู้ผลิต, ผู้ค้าและผู้ส่งออกที่เข้มแข็ง
II. การเปิดการค้าเสรีสินค้าเกษตร AFTA/AEC 2015 ผลดี 1.ไทยส่งออกสินค้าเกษตรได้มากขึ้น เนื่องจากภาษีที่ลดลงและอาเซียนเป็นตลาดใหญ่ที่มีประชากรเกือบ 500 ล้านคน ซึ่งสำหรับไทย สินค้าส่งออกที่สำคัญ เช่น ข้าว, น้ำตาล, นมและผลิตภัณฑ์, มันสำปะหลัง, ไก่แปรรูป, อาหารแปรรูป, สิ่งปรุงรสอาหาร เป็นต้น (สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร, กษ.)
II. การเปิดการค้าเสรีสินค้าเกษตร AFTA/AEC 2015 ผลดี(ต่อ) 2.สินค้าวัตถุดิบนำเข้าราคาถูก ทำให้ลดต้นทุนการผลิตเพื่อส่งออก เช่น ปลาและสัตว์น้ำ 3.เกษตร/ผู้ประกอบการ เกิดการปรับตัวทางการผลิตทำให้สามารถแข่งขันได้ (สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร, กษ.)
II. การเปิดการค้าเสรีสินค้าเกษตร AFTA/AEC 2015 ผลที่คาดว่าจะได้รับจากการเปิดเสรีสินค้าเกษตร 1.ศูนย์ศึกษาการค้าระหว่างประเทศ ม.หอการค้าไทย(14 ก.ค. 52) ทำการศึกษาสินค้า 12 กลุ่ม(เกษตร อุตสาหกรรม) พบว่า GDP ของไทยปี 2558 จะเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.75 คิดเป็นมูลค่า 203,951 ล้านบาทหรือร้อยละ 0.25 ต่อปี(จากปี 2551) ไทยจะเกินดุล สาขาเกษตรแปรรูปมากขึ้น ร้อยละ 12.5 และจะเกินดุลสาขาเกษตรและปศุสัตว์มากขึ้น ร้อยละ 16.5 ไทยจะมีทิศทางส่งออกสินค้าประมงเพิ่มขึ้น
III.ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อธุรกิจปศุสัตว์ ราคาผลผลิต
ราคาไก่เนื้อ หน้าฟาร์ม (บาท/กก.) ที่มา: สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย
ราคาไก่เนื้อ หน้าฟาร์ม 6 เดือนหลังของปี 2552 (บาท/กก.) ที่มา: สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย
ราคาสุกรขุนหน้าฟาร์ม(บาท/กก.) ที่มา: สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย
ราคาสุกรขุนหน้าฟาร์ม ใน 6เดือน ของปี 2552 (บาท/กก.) ที่มา: สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย
ราคาไข่ไก่คละ(บาท/100 ฟอง) ที่มา: สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย
ราคาไข่ไก่คละใน 6เดือน ของปี 2552(บาท/100 ฟอง) ที่มา: สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย
III.ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อธุรกิจปศุสัตว์ ความต้องการของตลาดทั้งในประเทศ/ต่างประเทศ
ปริมาณการบริโภคเนื้อสุกรในประเทศต่างๆ ปริมาณการบริโภค(ก.ก./คน/ปี) เนื้อสุกร 1.ยุโรป 42 -43 2.จีน 35 -36 3.อเมริกา 30 4.ญี่ปุ่น 19 - 20 5.ไทย 12 -13 ที่มา: สัมมนา “อนาคตปศุสัตว์ไทยในอีก 5 ปีข้างหน้า” คุณธนินท์ เจียรวนนท์
ปริมาณการบริโภคเนื้อไก่ในประเทศต่างๆ ปริมาณการบริโภค(ก.ก./คน/ปี) เนื้อไก่ 1.บราซิล 59 2.อเมริกา 46 3.ยุโรป 16 4.ญี่ปุ่น 15 5.ไทย 14 ที่มา: สัมมนา “อนาคตปศุสัตว์ไทยในอีก 5 ปีข้างหน้า” คุณธนินท์ เจียรวนนท์
ปริมาณการบริโภคไข่ไก่ในประเทศต่างๆ ปริมาณการบริโภค(ฟอง/คน/ปี) ไข่ไก่ 1.จีน 330 2.ญี่ปุ่น 322 3.อเมริกา 296 4.เยอรมัน 200 5.ไทย 165 ที่มา: สัมมนา “อนาคตปศุสัตว์ไทยในอีก 5 ปีข้างหน้า” คุณธนินท์ เจียรวนนท์
III.ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อธุรกิจปศุสัตว์ คู่แข่งขัน วัตถุดิบอาหารสัตว์ สิ่งแวดล้อม/กฎระเบียบ
V.เวชภัณฑ์สำหรับสัตว์ Bio – Security ใช้ยาเฉพาะป้องกัน เทคโนโลยีชีวภาพ เน้นการพัฒนาคุณภาพและประสิทธิภาพการ ใช้อาหาร V
มูลค่าที่เพิ่มขึ้น(%) ปี 2007 ปี 2010(Forecast) สินค้า 2007 2010 มูลค่าที่เพิ่มขึ้น(%) Vaccine 2,269,251,663 2,877,678,510 21.14 Disinfectant 1,427,971,921 1,736,469,762 17.76 Total 15,912,109,993 18,539,758,345 14.17
ขอบคุณครับ.........