การใช้งาน โวลท์มิเตอร์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ชนิดของข้อมูลในโปรแกรม Interactive C
Advertisements

รายวิชา ง40102 หลักการแก้ปัญหาและการโปรแกรม
ไฟฟ้ากระแสสลับ Alternating Current
เลขฐานต่าง ๆ อ.มิ่งขวัญ กันจินะ.
วงจรสวิตช์ประจุ(Switched Capacitor)
นายรังสฤษดิ์ตั้งคณารหัส นายวสันต์ชานุชิตรหัส
Computer Programming 1 1.หากต้องการพิมพ์ให้ได้ผลลัพธ์ดังนี้ต้องเขียน code อย่างไร (ใช้for)
ชื่อสมบัติของการเท่ากัน
แบบสำรวจสายตานักเรียนในโครงการแว่นสายตา
X-Ray Systems.
Welcome to Electrical Engineering KKU.
จำนวนเต็ม จำนวนเต็ม  ประกอบด้วย                   1. จำนวนเต็มบวก    ได้แก่  1 , 2 , 3 , 4, 5 , ....                   2.  จำนวนเต็มลบ      ได้แก่  -1.
การเลือกซื้อสเปคคอม จัดทำโดย นาย ธนวัฒน์ แซ่ลิ้ม ม.4/2 เลขที่ 25
LAB # 3 Computer Programming 1
สเฟียโรมิเตอร์(Spherometer)
ทศนิยมและเศษส่วน F M B N โดย นางสาวสุพรรษา ธรรมสโรช.
ครูธีรพันธ์ ฝั้นเต็ม ครูชำนาญการพิเศษ ร.ร.แจ้ห่มวิทยา ลำปาง
ลิมิตและความต่อเนื่อง
บทที่ 1 อัตราส่วน.
วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ EG 3 กันยายน 2551.
ENCODER.
คณิตศาสตร์และสถิติธุรกิจ
หน่วยที่ 5 ตัวดำเนินการ (Operators)
พฤติกรรมพลวัตมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง
การตวง ความหมายของการตวง -    การตวง    คือ    การวัดปริมาณของสิ่งของต่างๆหรือหาความจุของภาชนะต่างๆ เครื่องตวง -    เครื่องที่เป็นมาตรฐาน    เช่น   
ดิจิตอล + เลขฐาน บทที่ 2.
การซ่อมบำรุงไมโครคอมพิวเตอร์ (Intro.)
Electronic1 อิเล็กทรอนิกส์ 1 Electronic 1.
บทที่ 4 การโปรแกรมเชิงเส้น (Linear Programming)
1 CHAPTER 1 Introduction A. Aurasopon Electric Circuits ( )
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์และอัลกอริธึม
จำนวนทั้งหมด ( Whole Numbers )
Force Vectors (1) WUTTIKRAI CHAIPANHA
กศน. สบเมย.. คณิตศาสตร์สุดหรรษา การบวก ลบ คูณ หารระคน.
การใช้งานเบื้องต้นของเครื่องคิดเลขทางการเงิน
เครื่องมือวัดทางไฟฟ้า
การเสนอกระบวนงานบริการเพื่อขอรับการประเมิน
การคำนวณทางคณิตศาสตร์ ตัวดำเนินการ
ค33211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 5
จำนวนเต็มกับการหารลงตัว
การวัดและทดสอบการทำงานของวงจรเครื่องส่งวิทยุ
ไฟฟ้ากระแสตรง Direct Current
กำลังไฟฟ้าที่สภาวะคงตัวของวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ
กำลังไฟฟ้าที่สภาวะคงตัวของวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ
สัปดาห์ที่ 15 โครงข่ายสองพอร์ท Two-Port Networks (Part I)
หน่วยที่ 4 การปรับปรุงตัวประกอบกำลัง
ตัวเก็บประจุ (CAPACITOR)
การใช้มัลติมิเตอร์แบบแอนาลอกวัดค่าความต้านทาน
ชุดทดสอบสารโพลาร์ในน้ำมันที่ใช้ทอด
หน่วยที่ 3 คุณลักษณะสมบัติของ RLC
เครื่องมือวัดทางไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์
ไดแอก ( DIAC ) .
การศึกษาวงจรและการซ่อมบำรุงไมโครคอมพิวเตอร์
การหาผลคูณและผลหารของเลขยกกำลัง
ความรู้พื้นฐานทางวิศวกรรมไฟฟ้า(252282) กฎของโอห์ม การคำนวณและการวัด
ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการดำเนินการ มาตรการประหยัดพลังงาน
Electronics for Analytical Instrument
วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ AC-Circuits Outline
งานนำเสนอ “ค่าจ้างและสถานะทั่วไปของแรงงานจากทุกภาคส่วนอุตสาหกรรมในประเทศไทย” นำเสนอโดย วิไลวรรณ แซ่เตีย ประธานคณะกรรมการสมานฉันท์แรงงานไทย.
ค21201 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1
การอ่านสเกลบนหน้าปัดในการวัดแรงดันไฟฟ้ากระแสตรง (DC.V )
การอ่านค่าความจุของคาปาซิเตอร์
บทที่ 5 เครื่องกําเนิดไฟฟากระแสสลับ (AC Generator)
ครูธีรพันธ์ ฝั้นเต็ม ครูชำนาญการพิเศษ ร.ร.แจ้ห่มวิทยา ลำปาง
Medical Engineering Center 1 (Ratchaburi)
Stepper motor.
1 การกำจัดรีโซแนนซ์การบิดด้วยตัว ชดเชยจากวิธีแผนผังค่าสัมประสิทธิ์ (CDM) รูปที่ 4.1 ระบบตามโครงสร้าง CDM.
การปรับเงินเดือน กรณีที่เงินเดือนยังไม่ถึงขั้นต่ำของระดับ
กิจกรรมชุดที่ 9 การวัดแรงโน้มถ่วง.
บทที่ 1 เรื่องไฟฟ้า สื่อเทคโนโลยีประกอบการสอน โดย
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การใช้งาน โวลท์มิเตอร์ ( Volt Meter)

แรงดันไฟฟ้า มีหน่วยเป็น โวล์ท ( V : Volt ) มีอยู่ 2 ชนิดคือ 1.ไฟฟ้ากระแสตรง ( DC = Direct Current) 2.ไฟฟ้ากระแสสลับ ( AC = Alternating Current ) ไฟฟ้ากระแสตรง ( DC ) ไฟฟ้ากระแสสลับ ( AC )

สเกลที่ใช้อ่านค่า ไฟฟ้ากระแสตรง ( DC ) ไฟฟ้ากระแสสลับ ( AC )

รายละเอียดสเกล ดีซีโวลท์มิเตอร์ ( DC Voltmeter)

รายละเอียดสเกล ดีซีโวลท์มิเตอร์ ( DC Voltmeter) 0.1V, 0.5V, 2.5V, 10V, 50V, 250V และ 1000V แต่มีชุดตัวเลขที่อ่านค่านั้น 3 ชุด คือ 0 – 10, 0 – 50, และ 0 – 250 ดังนั้นในการอ่านค่าต้องพิจารณาให้รอบคอบโดยพิจารณา ย่านวัดที่ตั้ง และชุดตัวเลขที่จะต้องอ่าน

รายละเอียดสเกล ดีซีโวลท์มิเตอร์ ( DC Voltmeter) ย่านวัด 0.1V, 10V, และ 1000V อ่านตัวเลขชุด 0 – 10 ย่านวัด 0.5V, และ 50V อ่านตัวเลขชุด 0 – 50 ย่านวัด 2.5V, และ 250V อ่านตัวเลขชุด 0 – 250

รายละเอียดสเกล ดีซีโวลท์มิเตอร์ ( DC Voltmeter) ย่านวัด 0.1V, 10V, และ 1000V อ่านตัวเลขชุด 0 – 10 (แต่ละช่องมีค่า 0.2V) ย่านวัด 0.1V อ่านค่าตัวเลขชุด 0-10 ได้.............. นำไปหาร 100 =………… หรือแต่ละช่องมีค่าเท่ากับ 0.002 V ย่านวัด 10V อ่านค่าตัวเลขชุด 0-10 ได้.............. หรือแต่ละช่องมีค่าเท่ากับ 0.2 V ย่านวัด 1000V อ่านค่าตัวเลขชุด 0-10 ได้............ นำไปคูณ 100 =………… หรือแต่ละช่องมีค่าเท่ากับ 20 V

รายละเอียดสเกล ดีซีโวลท์มิเตอร์ ( DC Voltmeter) ย่านวัด 0.5V, และ 50V อ่านตัวเลขชุด 0 – 50 (แต่ละช่องมีค่า 1V) ย่านวัด 0.5V อ่านค่าตัวเลขชุด 0-50 ได้.............. นำไปหาร 100 =………… หรือแต่ละช่องมีค่าเท่ากับ 0.01 V ย่านวัด 50V อ่านค่าตัวเลขชุด 0-50 ได้.............. หรือแต่ละช่องมีค่าเท่ากับ 1 V

รายละเอียดสเกล ดีซีโวลท์มิเตอร์ ( DC Voltmeter) ย่านวัด 2.5V, และ 250V อ่านตัวเลขชุด 0 – 250 (แต่ละช่องมีค่า 5V) ย่านวัด 2.5V อ่านค่าตัวเลขชุด 0-250 ได้............. นำไปหาร 100 =………… หรือแต่ละช่องมีค่าเท่ากับ 0.05 V ย่านวัด 250V อ่านค่าตัวเลขชุด 0-250 ได้.............. หรือแต่ละช่องมีค่าเท่ากับ 5 V

รายละเอียดสเกล เอซีโวลท์มิเตอร์ ( AC Voltmeter) 10V, 50V, 250V และ 1000V แต่มีชุดตัวเลขที่อ่านค่านั้น 3 ชุด คือ 0 – 10, 0 – 50, และ 0 – 250 ดังนั้นในการอ่านค่าต้องพิจารณาให้รอบคอบโดยพิจารณา ย่านวัดที่ตั้ง และชุดตัวเลขที่จะต้องอ่าน

รายละเอียดสเกล เอซีโวลท์มิเตอร์ ( AC Voltmeter) จะต้องอ่านจากสเกล สีแดง เท่านั้น ย่านวัด 10V อ่านค่าตัวเลขชุด 0-10 ได้.............. หรือแต่ละช่องมีค่าเท่ากับ 0.02 V ย่านวัด 50V อ่านค่าตัวเลขชุด 0-50 ได้.............. หรือแต่ละช่องมีค่าเท่ากับ 1 V ย่านวัด 250V อ่านค่าตัวเลขชุด 0-250 ได้.............. หรือแต่ละช่องมีค่าเท่ากับ 5 V ย่านวัด 1000V อ่านค่าตัวเลขชุด 0-10 ได้............ นำไปคูณ 100 =………. หรือแต่ละช่องมีค่าเท่ากับ 20 V

ตัวอย่างการอ่านค่า โวลท์มิเตอร์

ตัวอย่างที่ 1 การอ่านค่า ดีซีโวลท์มิเตอร์ ย่าน 0.1 V อ่านค่าได้ 0.013 V ย่าน 0.5 V อ่านค่าได้ 0.065 V ย่าน 2.5 V อ่านค่าได้ 0.32 V ย่าน 10 V อ่านค่าได้ 1.3 V ย่าน 50 V อ่านค่าได้ 6.5 V ย่าน 250 V อ่านค่าได้ 32 V

ตัวอย่างที่ 2 การอ่านค่า ดีซีโวลท์มิเตอร์ ย่าน 0.1 V อ่านค่าได้ 0.065 V ย่าน 0.5 V อ่านค่าได้ 0.325 V ย่าน 2.5 V อ่านค่าได้ 1.63 V ย่าน 10 V อ่านค่าได้ 6.5 V ย่าน 50 V อ่านค่าได้ 32.5 V ย่าน 250 V อ่านค่าได้ 163 V

ตัวอย่างที่ 3 การอ่านค่า ดีซีโวลท์มิเตอร์ ย่าน 0.1 V อ่านค่าได้ 0.055 V ย่าน 0.5 V อ่านค่าได้ 0.275 V ย่าน 2.5 V อ่านค่าได้ 1.38 V ย่าน 10 V อ่านค่าได้ 5.5 V ย่าน 50 V อ่านค่าได้ 27.5 V ย่าน 250 V อ่านค่าได้ 138 V

ตัวอย่างที่ 1 การอ่านค่า เอซีโวลท์มิเตอร์ ย่าน 10 V อ่านค่าได้ 1.4 V ย่าน 50 V อ่านค่าได้ 7 V ย่าน 250 V อ่านค่าได้ 35 V ย่าน 1000 V อ่านค่าได้ 140 V

ตัวอย่างที่ 2 การอ่านค่า เอซีโวลท์มิเตอร์ ย่าน 10 V อ่านค่าได้ 6 V ย่าน 50 V อ่านค่าได้ 30 V ย่าน 250 V อ่านค่าได้ 150 V ย่าน 1000 V อ่านค่าได้ 600 V

ตัวอย่างที่ 3 การอ่านค่า เอซีโวลท์มิเตอร์ ย่าน 10 V อ่านค่าได้ 9.6 V ย่าน 50 V อ่านค่าได้ 48 V ย่าน 250 V อ่านค่าได้ 240 V ย่าน 1000 V อ่านค่าได้ 960 V

ข้อควรปฏิบัติในการใช้งานมัลติมิเตอร์ 1.ก่อนใช้งานให้สังเกตว่าเข็มชี้เลข 0 ทางซ้ายมือหรือไม่ 2.ในการวัดค่าแรงดันไฟฟ้านั้นหากไม่ทราบให้ตั้งย่านวัดค่าที่สูงไว้ก่อนหากเข็มไม่ขึ้นค่อยปรับย่านวัดลง 3.ในการปรับเปลี่ยนย่านวัดจะต้องยกสายใดสายหนึ่งที่ต่อวงจรออกก่อนแล้วจึงเปลี่ยนย่านวัด 4.ในการใช้งานดีซีโวลท์มิเตอร์นั้นจะต้องคำนึงถึงศักย์ไฟฟ้า(ขั้วบวก ขั้วลบด้วย)โดยสายสีแดงจะวัดส่วนที่เป็นศักย์ไฟฟ้าที่สูงกว่า

สวัสดี