ระบบการประเมินองค์กร ตามแนวทางการพัฒนาคุณภาพ เครือข่ายบริการปฐมภูมิ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award)
Advertisements

ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award)
การบริหารจัดการภาครัฐ ( PMQA: Public Sector Management Quality Award )
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
เกณฑ์คุณภาพเครือข่ายบริการปฐมภูมิ
กรอบการนำเสนอ ส่วนที่ 2 สรุปสาระสำคัญ ส่วนที่ 1 ภาพรวม PMQA
การดำเนินการ ขั้น 1 : ◊ แต่งตั้งคณะทำงาน ◊ จัดทำแผนดำเนินการ (Roadmap) ◊ จัดประชุมชี้แจง คณะทำงานดำเนินการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ควรประกอบด้วย.
การปฏิบัติและจัดการงาน ให้มีประสิทธิภาพ
Introduction to Education Criteria for Performance Excellence (ECPE)
การประชุมชี้แจงแนวทาง การดำเนินการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ มสธ. (STOU -PMQA) วันที่ 30 พฤศจิกายน 2552 ฝ่ายวางแผนและพัฒนาระบบงาน.
โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การจัดทำแผนการพัฒนาและการปฏิบัติการ ของโครงการโดยเจ้าหน้าที่โครงการมีส่วนร่วม ปี พ.ศ.2552.
ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ
การถ่ายทอดตัวชี้วัดลงสู่ระดับสำนัก/กอง และระดับบุคคล
เกณฑ์ (gain!?!)หมวด 7.
บทที่7 ช่องว่างองค์กร 12/9/05 ช่องว่างองค์กร.
แผนที่ยุทธศาสตร์สำนักพัฒนาโครงสร้างและระบบบริหารงานบุคคล
คำอธิบายแนวทางการให้คะแนน เอกสาร/หลักฐานการดำเนินงาน
การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
การสื่อสารแผนที่ยุทธศาสตร์ ระดับองค์กร ระดับภาค ระดับพื้นที่
หมวด2 9 คำถาม.
หมวด7 15 คำถาม.
การประเมินองค์กรด้วยตนเอง (Self Assessment Report)
COP PMQA ศูนย์อนามัยที่ 10 เชียงใหม่.
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
Module 2 : จัดทำแผนผังการวิเคราะห์องค์กร
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
การประเมินองค์กรด้วยตนเอง (Self Assessment Report)
ผลการดำเนินงานองค์กร (Performance Measurement)
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
การสำรวจหา ค่ากลาง นโยบายรัฐบาล เรื่องการพัฒนาสุขภาพของ ประชาชน ประกาศเมื่อ 23 สิงหาคม จัดให้มีมาตรการสร้างสุขภาพโดยมี เป้าหมายเพื่อลดอัตราป่วย.
สภาพผลการดำเนินงานองค์กร
1 เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ กลุ่มที่ 5. 2 สมาชิกกลุ่ม 18.
การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award)
สรุปประเด็นการประชุมสัมมนากลุ่มย่อย
การตรวจรับรองเกณฑ์คุณภาพการบริหาร จัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (Certify FL) 1.
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด4 10คำถาม.
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด2 9คำถาม.
การนำเกณฑ์คุณภาพการศึกษาเพื่อการดำเนินงานที่เป็นเลิศไปพัฒนาองค์กร
โครงการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA : Public Sector Management Quality Award) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ
โครงการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ (การส่งเสริมให้ส่วนราชการนำร่อง เข้าสู่การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ) เขียนลักษณะสำคัญขององค์กร :
โครงการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ (การส่งเสริมให้ส่วนราชการนำร่อง เข้าสู่การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ) เขียนรายงานหมวดที่ 1-6 :
โครงการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ (การส่งเสริมให้ส่วนราชการนำร่อง เข้าสู่การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ) เขียนรายงานหมวดที่ 7 : ผลลัพธ์การดำเนินการ.
การกำหนดค่าเป้าหมายผลสัมฤทธิ์ของงาน
การพัฒนาคุณภาพตามเกณฑ์ PCA หน่วยบริการปฐมภูมิ
ประโยชน์ต่อส่วนราชการ
การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award)
Good Practice (for Quality Improvement)
Good Practice (for Quality Improvement)
แนวทางการพัฒนาคลินิก DPAC
คู่มือการพัฒนาคุณภาพ HA SPA SAR 2011 HA Scoring Guideline 2011
Paradigm Workshop by Dr. Prapon Phasukyud
การจัดทำแผนยุทธศาสตร์อำเภอชุมพลบุรี
วิธีการเขียนรายงานการประเมิน
หมวด 6 การจัดการกระบวนการ Process Management
การจัดการค่า กลาง. ค่ากลางคือ อะไร ? %100% 65 การยกระดับคุณภาพของแผนงาน / โครงการ * โดยใช้ค่ากลาง ความถี่ สูงสุด % งา น บริเวณค่า.
กระบวนการที่สร้างคุณค่า และ กระบวนการสนับสนุน
1 การดำเนินการถ่ายทอดตัวชี้วัดและเป้าหมายระดับองค์การ สู่ระดับหน่วยงานและระดับบุคคลตามเกณฑ์คุณภาพการ บริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ
ยุทธศาสตร์ที่ 6 การพัฒนาคุณภาพระบบบริหารจัดการองค์กรและบุคลากร ให้มีขีดสมรรถนะสูงได้มาตรฐานสากล การดำเนินการพัฒนาคุณภาพระบบบริหารจัดการองค์กร เป็นการนำเกณฑ์
การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award)
กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร กรมอนามัย
กลุ่มที่ 2 กลุ่มพัฒนาภาคีเครือข่าย สคร.1-12
ก.พ.ร. กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข
รางวัลบริการภาครัฐแห่งชาติ (Thailand Public Service Awards)
จุดเน้น ด้านการบริหารจัดการ
กลุ่ม สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร.
โครงการจัดตั้ง กองแผนงาน
การชี้แจงตัวชี้วัดของหน่วยงาน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ระบบการประเมินองค์กร ตามแนวทางการพัฒนาคุณภาพ เครือข่ายบริการปฐมภูมิ

ประเมิน 2 มิติ มิติของกระบวนการ มิติของผลลัพธ์

แนวทางการประเมิน มิติ มิติ กระบวนการ ผลลัพธ์ แนวทาง (Approach - A) การถ่ายทอดเพื่อนำไปปฏิบัติ (Deployment - D) การเรียนรู้ (การทบทวนและ ปรับปรุง) (Learning - L) การบูรณาการ (Integration - I) ผลการดำเนินการปัจจุบัน (Level - Le) แนวโน้ม (Trend - T) ผลการดำเนินการเปรียบเทียบ (Comparison - C) ครอบคลุมและความสำคัญของ ผลลัพธ์ (Linkage - Li)

วงจรการจัดการ 4 ขั้นตอน : ADLI เป้า แผน ปฏิบัติ วัด ปรับ เป็นระบบ ชัดเจน ทำซ้ำได้ บูรณาการ ฐานข้อมูล วัดได้ ติดตามได้ มุ่งปรับปรุง Approach A มุ่งเป้า องค์กร A1 Goal A2 Plan A3 Assessment Plan ผลลัพธ์ ตรงเป้า Deployment D Learning L Integration I Result R ทำครอบคลุม ทุกหน่วย ทุกคน ทุกขั้น จริงจัง ความสอดคล้องของ เป้า แผน ปฏิบัติ วัด ปรับ ติดตาม แลกเปลี่ยน ปรับปรุง

แนวทางการให้คะแนน หมวด 1-6 มิติการประเมิน มิติย่อย A 1. การตั้งวัตถุประงค์ การมีแนวทาง 2. การวางแผนดำเนินงาน 3. การวางแผนประเมินละตัวชี้วัด D 1. การปฏิบัติตามแผนดำเนินงาน การปฏิบัติ 2. ความรับผิดชอบของบุคลากร 3. ความมุ่งมั่นตั้งใจของบุคลากร L 1. การติดตามประเมินผลและการปรับปรุง การเรียนรู้ 2. การสรุปบทเรียนและสร้างนวัตกรรม 3. การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ผลการปรับปรุง I 1 ความสอดคล้องของระบบจัดการ การบูรณาการ 2. การใช้ระบบตัววัด การประเมิน การปรับปรุง 3. การมีแนวทางที่มุ่งสู่ผลสำเร็จตามเป้าหมาย

แนวทางการตอบคำถาม หมวด 7

ประเมินองค์กรหมวด 7 (LeTCLi) แนวโน้มผลการดำเนินงาน (อย่างน้อยสามปี) ผลการดำเนินงาน ในปัจจุบันเทียบกับ เป้าหมาย (Level- Le) (Trend - T) (Linkage- Li) (Comparison - C) มีการเชื่อมโยงกับ ตัวชี้วัดผลต่าง ๆ กับ เกณฑ์หมวดต่าง ๆ ผลการดำเนินงานเปรียบ เทียบกับองค์กรที่มีภารกิจ คล้ายคลึงหรือเทียบเคียงได้

รูปแบบการตอบคำถาม: หมวด 7 แบบตาราง ปรับรูปแบบไม่ได้ แบบกราฟ แบบคำอธิบายกราฟ

การตอบคำถาม ความ ครอบคลุม เชื่อมโยง ของตัวชี้วัด 2547 2548 2549

การประเมินองค์กรหมวด 1-6 วิเคราะห์จุดแข็งและโอกาสในการปรับปรุง

แนวทางการให้คะแนน หมวด 1- 6 แนวทางการให้คะแนน หมวด 1- 6 A D L I (1) 0- 5 % ไม่มีแนวทาง A1 ไม่มีถ่ายทอดไปปฏิบัติ หรือมีเล็กน้อย D1 ไม่เห็นแนวคิดการปรับปรุง หรือปรับปรุงเมื่อเกิดปัญหา L1 PDCA ไม่มีทิศทางเดียวกันแยกกันทำงานเอกเทศ I1 (2) 10-25 เริ่มมีแนวทาง มีผลต่อข้อกำหนด ขั้นเริ่มต้น A2 ถ่ายทอดไปปฏิบัติ เกือบทุกหน่วย D2 เริ่มเปลี่ยนจากตั้งรับมาเป็นแนวคิดปรับปรุงทั่วไป L2 มีทิศทางเดียวกับหน่วยงานอื่น ร่วมกันแก้ปัญหา I2 (3) 30-45 มีแนวทาง มีผลต่อข้อกำหนดพื้นฐาน (บางส่วน) ขั้นปานกลาง A3 เว้นบางหน่วย อยู่ขั้นเริ่มต้น D3 เริ่มมีระบบประเมินปรับปรุงกระบวนการสำคัญ L3 เริ่มมีทิศทางเดียวกับความต้องการพื้นฐานขององค์กร I3

สู่การจัดการ การวิเคราะห์แบ่งปันความรู้สร้างนวัตกรรมทั่วองค์กร แนวทางการให้คะแนน หมวด 1- 6(ต่อ) A D L I (4) 50-65 % มีแนวทาง มีผลต่อข้อกำหนด โดยรวม (ส่วนใหญ่)ขั้นดี A4 ถ่ายทอดไปปฏิบัติ ขั้นดี อาจต่างกัน บางหน่วย D4 มีระบบประเมินปรับปรุงใช้ข้อมูลจริง และมีการเรียนรู้ระดับองค์กร L4 PDCA มีทิศทางเดียวกับ ความต้องการพื้นฐานองค์กร I4 (5) 70-85 ต่างๆ (ทุกส่วน) ขั้นดีมาก A5 เกือบครบทุกหน่วย D5 มีระบบประเมินปรับปรุงใช้ข้อมูลจริง และมีการเรียนรู้ วิเคราะห์แบ่งปันในระดับองค์กร L5 มีทิศทางที่บูรณาการกับความต้องการองค์กร I5 (6) 90- 100 มีผลต่อข้อกำหนดต่างๆ (ทุกส่วน)ขั้นสมบูรณ์ A6 ขั้นสมบูรณ์ ในทุกหน่วย D6 มีระบบประเมินปรับปรุงใช้ข้อมูลจริง และมีการเรียนรู้ สู่การจัดการ การวิเคราะห์แบ่งปันความรู้สร้างนวัตกรรมทั่วองค์กร L6 มีทิศทางบูรณาการ กับความต้องการองค์กรเป็นอย่างดี I6

ตัว อย่าง การจัดทำรายงานการประเมินองค์กร ด้วยตนเอง ( SELF ASSESSMENT REPORT) หมวด 1-6 อ้างอิง จุดแข็ง 1 (1) ADLI = ส่วนราชการจัดทำแผนการจัดทำวิสัยทัศน์และค่านิยมA2และกำหนดเป้าหมายA1ตัวชี้วัดแผนการประเมินA3ในการจัดทำอย่างชัดเจน มีการถ่ายทอดแผนสู่การปฏิบัติD1โดยผู้รับผิดชอบร่วมดำเนินการตามแผนทุกคนอย่างมุ่งมั่นD2-3 มีการติดตามประเมินผลตามแผนการประเมินL1มีการสรุปบทเรียนและนำผลที่ได้ไปปรับปรุงอย่างก้าวกระโดดL2นำผลที่ได้จากการปรับปรุงไปแลกเปลี่ยนรู้กับทั้งหน่วยงานภายในและภายนอกL3 และการดำเนินการดังกล่าวมีความสอดคล้องเชื่อมโยงกันระหว่างแผน การนำแผนสู่การปฏิบัติและการติดตามประเมินผลI1ผลการดำเนินงานที่ได้นำไปใช้ในการวางแผนยุทธศาสตร์I2และตอบสนองเป้าหมายหลักขององค์กรI3

ตัว อย่าง การจัดทำรายงานการประเมินองค์กร ด้วยตนเอง ( SELF ASSESSMENT REPORT) หมวด 1-6 อ้างอิง โอกาสในการปรับปรุง 1 (1) ADLI = ส่วนราชการไม่มีการจัดทำแผนการสื่อสาร A2รวมทั้งไม่ได้กำหนดเป้าหมายของแผนการสื่อสารA1(เพื่อผลักดันให้บุคคลากรเข้าใจและเต็มใจในการปฏิบัติงานเพื่อให้บรรลุเป้าหมายขององค์กร)และไม่กำหนดแผนการประเมินและตัวชี้วัดA3

การประเมินองค์กรหมวด 7 วิเคราะห์จุดแข็งและโอกาสในการปรับปรุง

แนวทางการให้คะแนน หมวด 7 แนวทางการให้คะแนน หมวด 7 Le T C Li (1) 0 - 5 % ไม่มีรายงานผลลัพธ์ มีผลลัพธ์ที่ไม่ดี Le1 ไม่มีรายงานข้อมูลที่แสดงแนวโน้มหรือข้อมูลแสดงแนวโน้ม งลบ T1 ไม่มีการรายงานสารสนเทศเชิงเปรียบเทียบ C1 ไม่มีการรายงานผลลัพธ์ในเรื่องที่มีความสำคัญต่อความต้องการ Li1 (2) 10-25 มีรายงานผลลัพธ์น้อย มีการปรับปรุงบ้าง เริ่มมีผลการดำเนินงานที่ดีบางเรื่อง Le2 ไม่มีรายงานข้อมูลที่แสดงแนวโน้ม หรือมีเพียงเล็กน้อย T2 ไม่มีการรายงานสารสนเทศเชิงปรียบเทียบหรือมีเพียงเล็กน้อยไม่ชัดเจน C2 มีการรายงานผลลัพธ์น้อยเรื่องที่มีความสำคัญต่อความต้องการ Li2 (3) 30-45 มีรายงานผลลัพธ์และ มีการปรับปรุงและ มีผลการดำเนินงานที่ดีหลายเรื่อง Le3 แสดงให้เห็นว่าเริ่มมีการพัฒนาของแนวโน้มที่ดี T3 เริ่มมีสารสนเทศเชิงเปรียบเทียบบางส่วนชัดเจน C3 มีการรายงานผลลัพธ์ในหลายเรื่องที่มีความสำคัญต่อความต้องการ Li3

แนวทางการให้คะแนน หมวด 7 (ต่อ) แนวทางการให้คะแนน หมวด 7 (ต่อ) Le T C Li (4) 50-65 % มีรายงานผลลัพธ์และมีการปรับปรุงและมีผลการดำเนินงานที่ดีในเกือบทุกเรื่อง Le4 รายงานไม่มีแนวโน้มปรับปรุงทางลบ ไม่มีระดับผลการดำเนินการที่ไม่ดีในเรื่องที่สำคัญ T4 มีแนวโน้มระดับผลการดำเนินการเชิงเปรียบเทียบบางเรื่องระดับดีถึงดีมาก C4 มีรายงานผลลัพธ์สนองต่อ ความต้องการ ผู้รับบริการ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย กระบวนการ ที่สำคัญเป็นส่วนใหญ่ Li4 (5) 70-85 มีรายงานผลลัพธ์และ มีผลการดำเนินงาน ที่ดีถึงดีเลิศในเรื่องสำคัญ เป็นส่วนใหญ่ Le5 มีรายงานรักษาแนวโน้มปรับปรุงที่ดีและรักษาระดับผลดำเนินการ ที่ดีได้เป็นส่วนใหญ่ T5 มีแนวโน้มระดับผลการดำเนินการเชิงเปรียบเทียบส่วนมาก ระดับที่ดีมาก แสดงถึงความเป็นผู้นำ C5 มีรายงานผลลัพธ์สนองต่อ ความต้องการ ผู้รับบริการ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย กระบวนการและแผนปฏิบัติการที่สำคัญ เป็นส่วนใหญ่ Li5 (6) 90- 100 มีผลการดำเนินงานในปัจจุบันที่ดีเลิศในเรื่องสำคัญเป็นส่วนใหญ่ Le6 มีรายงานแนวโน้มปรับปรุง ที่ดีเลิศ และรักษาระดับผลดำเนินการที่ดีเลิศ ได้เป็นส่วนใหญ่ T6 แสดงถึงความเป็นผู้นำและเป็นระดับเทียบเคียงต้นแนนให้องค์กรอื่นในหลายเรื่อง C6 ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย กระบวนการและแผนปฏิบัติการที่สำคัญ อย่างสมบูรณ์ Li6

อ้างอิง จุดแข็ง ตัว อย่าง การจัดทำรายงานการประเมินองค์กรด้วยตนเอง ( SELF ASSESSMENT REPORT) หมวด 7 อ้างอิง จุดแข็ง 7 (1) LeTCLi = มีผลลัพธ์ที่ดี (Le) ตามเป้าหมาย มีแนวโน้ม (T) สูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง รวมทั้งมีผลลัพธ์ที่อยู่ในระดับดีกว่ากับคู่แข่งขัน (C) มีการระบุผลการดำเนินการว่าเป็นผลจากการดำเนินการจากหมวดใด ข้อใดอย่างชัดเจนและครอบคลุม (Li)

อ้างอิง โอกาสในการปรับปรุง ตัว อย่าง การจัดทำรายงานการประเมินองค์กรด้วยตนเอง ( SELF ASSESSMENT REPORT)หมวด 7 อ้างอิง โอกาสในการปรับปรุง 7 (1) LeTCLi = มีการกำหนด KPI ที่ชัด ผลการดำเนินงานต่ำกว่าเป้าหมายที่กำหนด แต่ผลลัพธ์มีแนวโน้ม (T)ที่เพิ่มขึ้นจากปีที่แล้ว ไม่มีการกำหนดคู่เปรียบเทียบ (C) รวมทั้งไม่ได้ระบุการเชื่อมโยงว่าผลลัพธ์ในข้อนี้มาจากการดำเนินการในหมวดใด (Li) 7 (5) LeTCLi = ไม่มี ตัวชี้วัดที่สำคัญของผลการดำเนินการอื่นๆ ที่เกี่ยวกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้เสีย

เอาแต่เรียนรู้ แต่ไม่ลงมือทำ ไม่มีวันประสบผลสำเร็จ เอาแต่ลงมือทำ แต่ไม่เรียนรู้ ไม่มีวันก้าวหน้า พัฒนา