ระบบการประเมินองค์กร ตามแนวทางการพัฒนาคุณภาพ เครือข่ายบริการปฐมภูมิ
ประเมิน 2 มิติ มิติของกระบวนการ มิติของผลลัพธ์
แนวทางการประเมิน มิติ มิติ กระบวนการ ผลลัพธ์ แนวทาง (Approach - A) การถ่ายทอดเพื่อนำไปปฏิบัติ (Deployment - D) การเรียนรู้ (การทบทวนและ ปรับปรุง) (Learning - L) การบูรณาการ (Integration - I) ผลการดำเนินการปัจจุบัน (Level - Le) แนวโน้ม (Trend - T) ผลการดำเนินการเปรียบเทียบ (Comparison - C) ครอบคลุมและความสำคัญของ ผลลัพธ์ (Linkage - Li)
วงจรการจัดการ 4 ขั้นตอน : ADLI เป้า แผน ปฏิบัติ วัด ปรับ เป็นระบบ ชัดเจน ทำซ้ำได้ บูรณาการ ฐานข้อมูล วัดได้ ติดตามได้ มุ่งปรับปรุง Approach A มุ่งเป้า องค์กร A1 Goal A2 Plan A3 Assessment Plan ผลลัพธ์ ตรงเป้า Deployment D Learning L Integration I Result R ทำครอบคลุม ทุกหน่วย ทุกคน ทุกขั้น จริงจัง ความสอดคล้องของ เป้า แผน ปฏิบัติ วัด ปรับ ติดตาม แลกเปลี่ยน ปรับปรุง
แนวทางการให้คะแนน หมวด 1-6 มิติการประเมิน มิติย่อย A 1. การตั้งวัตถุประงค์ การมีแนวทาง 2. การวางแผนดำเนินงาน 3. การวางแผนประเมินละตัวชี้วัด D 1. การปฏิบัติตามแผนดำเนินงาน การปฏิบัติ 2. ความรับผิดชอบของบุคลากร 3. ความมุ่งมั่นตั้งใจของบุคลากร L 1. การติดตามประเมินผลและการปรับปรุง การเรียนรู้ 2. การสรุปบทเรียนและสร้างนวัตกรรม 3. การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ผลการปรับปรุง I 1 ความสอดคล้องของระบบจัดการ การบูรณาการ 2. การใช้ระบบตัววัด การประเมิน การปรับปรุง 3. การมีแนวทางที่มุ่งสู่ผลสำเร็จตามเป้าหมาย
แนวทางการตอบคำถาม หมวด 7
ประเมินองค์กรหมวด 7 (LeTCLi) แนวโน้มผลการดำเนินงาน (อย่างน้อยสามปี) ผลการดำเนินงาน ในปัจจุบันเทียบกับ เป้าหมาย (Level- Le) (Trend - T) (Linkage- Li) (Comparison - C) มีการเชื่อมโยงกับ ตัวชี้วัดผลต่าง ๆ กับ เกณฑ์หมวดต่าง ๆ ผลการดำเนินงานเปรียบ เทียบกับองค์กรที่มีภารกิจ คล้ายคลึงหรือเทียบเคียงได้
รูปแบบการตอบคำถาม: หมวด 7 แบบตาราง ปรับรูปแบบไม่ได้ แบบกราฟ แบบคำอธิบายกราฟ
การตอบคำถาม ความ ครอบคลุม เชื่อมโยง ของตัวชี้วัด 2547 2548 2549
การประเมินองค์กรหมวด 1-6 วิเคราะห์จุดแข็งและโอกาสในการปรับปรุง
แนวทางการให้คะแนน หมวด 1- 6 แนวทางการให้คะแนน หมวด 1- 6 A D L I (1) 0- 5 % ไม่มีแนวทาง A1 ไม่มีถ่ายทอดไปปฏิบัติ หรือมีเล็กน้อย D1 ไม่เห็นแนวคิดการปรับปรุง หรือปรับปรุงเมื่อเกิดปัญหา L1 PDCA ไม่มีทิศทางเดียวกันแยกกันทำงานเอกเทศ I1 (2) 10-25 เริ่มมีแนวทาง มีผลต่อข้อกำหนด ขั้นเริ่มต้น A2 ถ่ายทอดไปปฏิบัติ เกือบทุกหน่วย D2 เริ่มเปลี่ยนจากตั้งรับมาเป็นแนวคิดปรับปรุงทั่วไป L2 มีทิศทางเดียวกับหน่วยงานอื่น ร่วมกันแก้ปัญหา I2 (3) 30-45 มีแนวทาง มีผลต่อข้อกำหนดพื้นฐาน (บางส่วน) ขั้นปานกลาง A3 เว้นบางหน่วย อยู่ขั้นเริ่มต้น D3 เริ่มมีระบบประเมินปรับปรุงกระบวนการสำคัญ L3 เริ่มมีทิศทางเดียวกับความต้องการพื้นฐานขององค์กร I3
สู่การจัดการ การวิเคราะห์แบ่งปันความรู้สร้างนวัตกรรมทั่วองค์กร แนวทางการให้คะแนน หมวด 1- 6(ต่อ) A D L I (4) 50-65 % มีแนวทาง มีผลต่อข้อกำหนด โดยรวม (ส่วนใหญ่)ขั้นดี A4 ถ่ายทอดไปปฏิบัติ ขั้นดี อาจต่างกัน บางหน่วย D4 มีระบบประเมินปรับปรุงใช้ข้อมูลจริง และมีการเรียนรู้ระดับองค์กร L4 PDCA มีทิศทางเดียวกับ ความต้องการพื้นฐานองค์กร I4 (5) 70-85 ต่างๆ (ทุกส่วน) ขั้นดีมาก A5 เกือบครบทุกหน่วย D5 มีระบบประเมินปรับปรุงใช้ข้อมูลจริง และมีการเรียนรู้ วิเคราะห์แบ่งปันในระดับองค์กร L5 มีทิศทางที่บูรณาการกับความต้องการองค์กร I5 (6) 90- 100 มีผลต่อข้อกำหนดต่างๆ (ทุกส่วน)ขั้นสมบูรณ์ A6 ขั้นสมบูรณ์ ในทุกหน่วย D6 มีระบบประเมินปรับปรุงใช้ข้อมูลจริง และมีการเรียนรู้ สู่การจัดการ การวิเคราะห์แบ่งปันความรู้สร้างนวัตกรรมทั่วองค์กร L6 มีทิศทางบูรณาการ กับความต้องการองค์กรเป็นอย่างดี I6
ตัว อย่าง การจัดทำรายงานการประเมินองค์กร ด้วยตนเอง ( SELF ASSESSMENT REPORT) หมวด 1-6 อ้างอิง จุดแข็ง 1 (1) ADLI = ส่วนราชการจัดทำแผนการจัดทำวิสัยทัศน์และค่านิยมA2และกำหนดเป้าหมายA1ตัวชี้วัดแผนการประเมินA3ในการจัดทำอย่างชัดเจน มีการถ่ายทอดแผนสู่การปฏิบัติD1โดยผู้รับผิดชอบร่วมดำเนินการตามแผนทุกคนอย่างมุ่งมั่นD2-3 มีการติดตามประเมินผลตามแผนการประเมินL1มีการสรุปบทเรียนและนำผลที่ได้ไปปรับปรุงอย่างก้าวกระโดดL2นำผลที่ได้จากการปรับปรุงไปแลกเปลี่ยนรู้กับทั้งหน่วยงานภายในและภายนอกL3 และการดำเนินการดังกล่าวมีความสอดคล้องเชื่อมโยงกันระหว่างแผน การนำแผนสู่การปฏิบัติและการติดตามประเมินผลI1ผลการดำเนินงานที่ได้นำไปใช้ในการวางแผนยุทธศาสตร์I2และตอบสนองเป้าหมายหลักขององค์กรI3
ตัว อย่าง การจัดทำรายงานการประเมินองค์กร ด้วยตนเอง ( SELF ASSESSMENT REPORT) หมวด 1-6 อ้างอิง โอกาสในการปรับปรุง 1 (1) ADLI = ส่วนราชการไม่มีการจัดทำแผนการสื่อสาร A2รวมทั้งไม่ได้กำหนดเป้าหมายของแผนการสื่อสารA1(เพื่อผลักดันให้บุคคลากรเข้าใจและเต็มใจในการปฏิบัติงานเพื่อให้บรรลุเป้าหมายขององค์กร)และไม่กำหนดแผนการประเมินและตัวชี้วัดA3
การประเมินองค์กรหมวด 7 วิเคราะห์จุดแข็งและโอกาสในการปรับปรุง
แนวทางการให้คะแนน หมวด 7 แนวทางการให้คะแนน หมวด 7 Le T C Li (1) 0 - 5 % ไม่มีรายงานผลลัพธ์ มีผลลัพธ์ที่ไม่ดี Le1 ไม่มีรายงานข้อมูลที่แสดงแนวโน้มหรือข้อมูลแสดงแนวโน้ม งลบ T1 ไม่มีการรายงานสารสนเทศเชิงเปรียบเทียบ C1 ไม่มีการรายงานผลลัพธ์ในเรื่องที่มีความสำคัญต่อความต้องการ Li1 (2) 10-25 มีรายงานผลลัพธ์น้อย มีการปรับปรุงบ้าง เริ่มมีผลการดำเนินงานที่ดีบางเรื่อง Le2 ไม่มีรายงานข้อมูลที่แสดงแนวโน้ม หรือมีเพียงเล็กน้อย T2 ไม่มีการรายงานสารสนเทศเชิงปรียบเทียบหรือมีเพียงเล็กน้อยไม่ชัดเจน C2 มีการรายงานผลลัพธ์น้อยเรื่องที่มีความสำคัญต่อความต้องการ Li2 (3) 30-45 มีรายงานผลลัพธ์และ มีการปรับปรุงและ มีผลการดำเนินงานที่ดีหลายเรื่อง Le3 แสดงให้เห็นว่าเริ่มมีการพัฒนาของแนวโน้มที่ดี T3 เริ่มมีสารสนเทศเชิงเปรียบเทียบบางส่วนชัดเจน C3 มีการรายงานผลลัพธ์ในหลายเรื่องที่มีความสำคัญต่อความต้องการ Li3
แนวทางการให้คะแนน หมวด 7 (ต่อ) แนวทางการให้คะแนน หมวด 7 (ต่อ) Le T C Li (4) 50-65 % มีรายงานผลลัพธ์และมีการปรับปรุงและมีผลการดำเนินงานที่ดีในเกือบทุกเรื่อง Le4 รายงานไม่มีแนวโน้มปรับปรุงทางลบ ไม่มีระดับผลการดำเนินการที่ไม่ดีในเรื่องที่สำคัญ T4 มีแนวโน้มระดับผลการดำเนินการเชิงเปรียบเทียบบางเรื่องระดับดีถึงดีมาก C4 มีรายงานผลลัพธ์สนองต่อ ความต้องการ ผู้รับบริการ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย กระบวนการ ที่สำคัญเป็นส่วนใหญ่ Li4 (5) 70-85 มีรายงานผลลัพธ์และ มีผลการดำเนินงาน ที่ดีถึงดีเลิศในเรื่องสำคัญ เป็นส่วนใหญ่ Le5 มีรายงานรักษาแนวโน้มปรับปรุงที่ดีและรักษาระดับผลดำเนินการ ที่ดีได้เป็นส่วนใหญ่ T5 มีแนวโน้มระดับผลการดำเนินการเชิงเปรียบเทียบส่วนมาก ระดับที่ดีมาก แสดงถึงความเป็นผู้นำ C5 มีรายงานผลลัพธ์สนองต่อ ความต้องการ ผู้รับบริการ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย กระบวนการและแผนปฏิบัติการที่สำคัญ เป็นส่วนใหญ่ Li5 (6) 90- 100 มีผลการดำเนินงานในปัจจุบันที่ดีเลิศในเรื่องสำคัญเป็นส่วนใหญ่ Le6 มีรายงานแนวโน้มปรับปรุง ที่ดีเลิศ และรักษาระดับผลดำเนินการที่ดีเลิศ ได้เป็นส่วนใหญ่ T6 แสดงถึงความเป็นผู้นำและเป็นระดับเทียบเคียงต้นแนนให้องค์กรอื่นในหลายเรื่อง C6 ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย กระบวนการและแผนปฏิบัติการที่สำคัญ อย่างสมบูรณ์ Li6
อ้างอิง จุดแข็ง ตัว อย่าง การจัดทำรายงานการประเมินองค์กรด้วยตนเอง ( SELF ASSESSMENT REPORT) หมวด 7 อ้างอิง จุดแข็ง 7 (1) LeTCLi = มีผลลัพธ์ที่ดี (Le) ตามเป้าหมาย มีแนวโน้ม (T) สูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง รวมทั้งมีผลลัพธ์ที่อยู่ในระดับดีกว่ากับคู่แข่งขัน (C) มีการระบุผลการดำเนินการว่าเป็นผลจากการดำเนินการจากหมวดใด ข้อใดอย่างชัดเจนและครอบคลุม (Li)
อ้างอิง โอกาสในการปรับปรุง ตัว อย่าง การจัดทำรายงานการประเมินองค์กรด้วยตนเอง ( SELF ASSESSMENT REPORT)หมวด 7 อ้างอิง โอกาสในการปรับปรุง 7 (1) LeTCLi = มีการกำหนด KPI ที่ชัด ผลการดำเนินงานต่ำกว่าเป้าหมายที่กำหนด แต่ผลลัพธ์มีแนวโน้ม (T)ที่เพิ่มขึ้นจากปีที่แล้ว ไม่มีการกำหนดคู่เปรียบเทียบ (C) รวมทั้งไม่ได้ระบุการเชื่อมโยงว่าผลลัพธ์ในข้อนี้มาจากการดำเนินการในหมวดใด (Li) 7 (5) LeTCLi = ไม่มี ตัวชี้วัดที่สำคัญของผลการดำเนินการอื่นๆ ที่เกี่ยวกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้เสีย
เอาแต่เรียนรู้ แต่ไม่ลงมือทำ ไม่มีวันประสบผลสำเร็จ เอาแต่ลงมือทำ แต่ไม่เรียนรู้ ไม่มีวันก้าวหน้า พัฒนา