UNFCCC & KP เป็นมาอย่างไร ตอนนี้ไปถึงไหน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การส่งเสริมเครือข่าย กองทุนสุขภาพ แรงงานข้ามชาติ
Advertisements

Information systems; Organizations; Management; Strategy
EC451 International Trade Theory and Policy
เศรษฐศาสตร์สถาบันว่าด้วยกรรมสิทธิ์ (๑)
ความเดิมจากตอนที่แล้ว
สหภาพยุโรปในฐานะมหาอำนาจระดับกลางและบทบาทต่อการเมืองโลก
นางสาวธิราพร เปรมจิตต์สุคนธ์ การจัดการพลังงาน
สรุปประเด็นกลุ่ม 1 การเตรียมการและการ กำหนดท่าทีในการเจรจา ต่อรองในระดับสากล.
กระแสโลกาภิวัตน์กับบทบาทด้านการคลัง (9-1-55)
แนวคิด ในการส่งเสริมการอ่าน
สิ่งแวดล้อม เทคโนโลยีและชีวิต
การประชาสัมพันธ์ห้องสมุด อย่างมืออาชีพ
Programs of the Intel® Education Initiative are funded by the Intel Foundation and Intel. Copyright © 2007, Intel Corporation. All rights reserved. Intel,
สรุปประเด็นการบรรยายของวิทยากร
ระบบการตลาดและ หน้าที่ทางการตลาด
การพัฒนาการปิด การเจรจาต่อรอง
Research Mapping.
การทำงานสนับสนุนงาน PP ของศูนย์วิชาการเขต
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน ประเภทเกม (Game).
กระบวนการวางแผน (Planning Process)
อนุสัญญาไซเตส โชคชัย บุตรครุธ.
การจัดโต๊ะประชุม 3. แบบรูปตัวU/เกือกม้า ใช้ในการประชุมฝ่ายเดียวเป็น
การติดตาม และประเมินโครงการ.
สารบัญ คำนำ หน้า บทสรุปผู้บริหาร วิสัยทัศน์&ภารกิจ
บทที่7 ช่องว่างองค์กร 12/9/05 ช่องว่างองค์กร.
ประสบการณ์และคุณค่าแห่งการทำงานร่วมกัน
- แผนงานที่ไม่มีโครงการจะเป็นแผนงานที่ไม่มีความสมบูรณ์ ไม่สามารถนำไปปฏิบัติเป็นรูปธรรม
การเตรียมการและการกำหนดท่าทีในการเจรจาต่อรองในระดับสากล
ยุทธศาสตร์ของไทยต่อการรวมกลุ่ม ในระดับภูมิภาคและทวิภาคี
บทที่ 3 การวางแผน การบริหารจัดการที่จะประสบความสำเร็จจะต้องมีหน้าที่สำคัญ 4 ประการ การจัดองค์การ การนำ การควบคุม.
การกำหนดปัญหาการวิจัย (Determining of Research Problem)
บทที่ 12 การเปลี่ยนแปลง และการพัฒนาองค์การ.
กรอบการเจรจาความตกลงด้านมาตรฐาน และการตรวจสอบและรับรอง ภายใต้คณะกรรมการที่ปรึกษาด้านมาตรฐานและคุณภาพของอาเซียน (ASEAN Consultative Committee for Standards.
ที่มาของอาเซียน Association of Southeast Asian Nations (ASEAN)
อนาคตเศรษฐกิจไทย ภายใต้การค้าเสรี หลังปี 2558
การตั้งเรื่องกล่าวหา
ความตกลงหุ้นส่วนเศรษฐกิจอาเซียน-ญี่ปุ่น
โครงการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA : Public Sector Management Quality Award) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ
 *connectedthinking กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์ 21 กันยายน 2547 การเจรจาเปิดเสรีการค้าบริการ.
ภาวะโลกร้อนกับมาตรการทางการค้า อุปสรรคหรือโอกาสทางธุรกิจ
“การพัฒนาสำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด สู่การเป็นองค์กรสมรรถนะสูง”
ทบทวนทฤษฎีหลักสูตร ดร.อมรา เขียวรักษา.
โดย ดร. นิวัตร ตันตยา นุสรณ์
บทที่ 8 นโยบายการค้าระหว่างประเทศ
กระบวนการบริหารและการคิดเชิงกลยุทธ์
บทที่ 3 การผลิตและการวางแผนฟาร์ม
ครั้งที่ 2 วันที่ 7 มิถุนายน 2556
Globalization and the Law III
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
Developing our strategy Ten questions that need to be answered.
การสั่งการและ การมอบหมายงาน
การบริหารจัดการ PDCA cycle
14. การเขียนโครงร่างการวิจัย (แบบ ว -๑) (Proposal)
ปริมาณสำรองปิโตรเลียม
ประสบการณ์การบริหาร มหาวิทยาลัย ๑๕ มีนาคม ๒๕๕๐. เรื่องที่เกี่ยวข้องกับการ บริหารมหาวิทยาลัย โครงสร้าง กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ รูปแบบการบริหารและขอบเขต อำนาจ.
เพื่อช่วยหาความสัมพันธ์ของ ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง และกำหนด เขตของพื้นที่เป้าหมาย และ ขอบเขตงาน รูปแบบ เดิม แผ่นใส ซ้อนทับ ปัจจุบัน GIS.
จัดทำโดย เด็กหญิง นันท์นภัส ขะชาติ ชั้น ม.1/13 เลขที่ 24
การเขียนบทวิทยุกระจายเสียง. ขั้นตอนการเขียนบทรายการวิทยุ ขั้นเริ่มต้นแนวคิด (Begin with idea) จะเป็น การบอกแนวทาง ขอบเขตและการวาง แผนการผลิตในอนาคต.
สรุปการบรรยายของวันที่ 25 กุมภาพันธ์ Evaluation of Global Health การสืบค้นองค์กรนานาชาติว่ามีองค์กรใดบ้างที่ให้ การสนับสนุนในด้านสุขภาพ เช่น 0.7.
ทิศทางเศรษฐกิจไทยและแนวนโยบาย การเงินปี 2553 กอบศักดิ์ ภูตระกูล ผู้บริหารส่วนกลยุทธ์นโยบายการเงิน สายนโยบายการเงิน ธปท 16 มกราคม 2552.
ภาวะโลกร้อน (Global Warming) หรือ ภาวะภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง (Climate Change) เป็นปัญหาใหญ่ของโลกเราในปัจจุบัน สังเกตได้จาก อุณหภูมิ ของ โลกที่สูงขึ้นเรื่อยๆ.
พฤติกรรมผู้ซื้อองค์การ
ความเชื่อมั่น ความดูดีในอีก ระดับ ความเป็นผู้นำ ความแตกต่างที่ เป็นจุดเด่น การบ่งบอกถึง คุณภาพ.
การวางแผนและการจัดการเชิงกลยุทธ์ (Planning & Strategic Management)
International Trade Agreement สัญญาซื้อขายสินค้าระหว่างประเทศ
UNFCCC & KP เป็นมาอย่างไร ตอนนี้ไปถึงไหน
การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การจัดการทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม
International Trade Agreement สัญญาซื้อขายสินค้าระหว่างประเทศ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

UNFCCC & KP เป็นมาอย่างไร ตอนนี้ไปถึงไหน วุฒิ หวังวัชรกุล ภาควิชาเศรษฐศาสตร์เกษตรและทรัพยากร คณะเศรษฐศาสตร์ ม. เกษตรศาสตร์ vute.w@ku.ac.th

UNFCCC และ KP คืออะไร UNFCCC เป็นข้อตกลงระหว่างประเทศที่มีเป้าหมายสำคัญคือแก้ปัญหาภาวะโลกร้อนโดยรักษาระดับความเข้มข้นของก๊าซเรือนกระจกในบรรยากาศให้อยู่ในระดับที่การปล่อยของมนุษย์ไม่เกิดอันตรายต่อระบบภูมิอากาศ ลักษณะสำคัญของ UNFCCC คือมีพันธกรณีที่ไม่มีผลผูกพันทางกฎหมาย (ไม่มีมาตรการบังคับ) และมีมาตราที่กำหนดให้มีการปรับปรุงพันธกรณีที่ผูกพัน (ในการลดก๊าซ) เรียกว่า Protocol เช่น กรณีที่มีการจัดทำพิธีสารเกียวโต (Kyoto Protocol) KP จึงเป็นพิธีสารภายใต้ UNFCCC

UNFCCC เนื้อหาเป็นอย่างไร

พันธกรณีมีอะไร (มาตรา 4) All Parties, taking into account their common but differentiated responsibilities and their specific national and regional development priorities, objectives and circumstances, shall………………… 4.1 All Parties (จัดทำ National Communication และร่วมมือ ส่งเสริม ดำเนินการ ฯลฯ) 4.2 ถึง 4.10 เป็นพันธกรณีของ Annex I รายละเอียดต้องไปอ่านเองในอนุสัญญาฯ

UNFCCC เกือบ 20 ปี เป็นมาอย่างไร Year Main event 1979 The first World Climate Conference (WCC) takes place. 1988 The Intergovernmental Panel on Climate Change is set up 1990 IPCC’s first assessment report released. United Nations General Assembly negotiations on a framework convention begin 1991 First meeting of the Intergovernmental Negotiating Committee (INC) takes place 1992 The INC adopts UNFCCC text. At the Earth Summit in Rio, the UNFCCC is opened for signature 1994 UNFCCC enters into force

1995 (COP1) The first Conference of the Parties (COP 1) takes place in Berlin 1996 (COP2) The UNFCCC Secretariat is set up to support action under the Convention 1997 (COP3) Kyoto Protocol formally adopted in December at COP3 2001 (COP7) Marrakesh Accords adopted, detailing rules for implementation of Kyoto Protocol, setting up new funding and planning instruments for adaptation, and establishing a technology transfer framework 2005 (COP11) Entry into force of the Kyoto Protocol, (MOP 1) takes place, Ad Hoc Working Group on Further Commitments for Annex I Parties under the Kyoto Protocol (AWG-KP) is launched. the Nairobi Work Programme on Adaptation started

2007 (COP13) IPCC’s Fourth Assessment Report released, Bali Road Map for post-2012 outcome in two work streams: the AWG-KP, and the Ad-Hoc Working Group on Long-Term Cooperative Action Under the Convention (AWG-LCA) 2009 (COP15) Copenhagen Accord was taken note of. Countries later submitted non-binding emissions reductions pledges or mitigation action pledges 2010 (COP16) Cancun Agreements drafted and largely accepted by the COP 2011 (COP17) The Durban Platform for Enhanced Action accepted

โครงสร้างองค์กร

โครงสร้างการเจรจา

ประเด็นใหญ่ในการเจรจา Inventory Mitigation Vulnerability and Adaptation Financial supports Development and transfer of technology National Communication เรื่องใหญ่ในอนาคต Transboundary emissions Delayed emissions

Parties to the Convention Other Stakeholders: - Other MEAs NGOs Indigenous Groups Private sector Media .. etc. IPCC Conference of the Parties:COP SBI SBSTA Expert Groups Expert Groups Institutionalized Political Process Social Political Process At Global level: Not about the problem but about who would sacrifice?, by how much?

Mitigation: from global to local COP Parties Annex I UNFCCC KP Non-Annex I Annex I parties Emission trading Joint Implementation Clean Development Mechanism All parties by abilities Public Private NGO/IGO Non-KP e.g. US project on Carbon off-set

ทำอะไรบ้าง? ทำไปถึงไหน? การลดก๊าซ ผ่านอนุสัญญา ฯ แบบเรื่อย ๆ เหนื่อยก็พัก ทั้งสองกลุ่ม ผ่านพิธีสารเกียวโต แบบแรลลี่เก็บคะแนน ประเทศพัฒนาแล้ว (มือโปร) ET, JI กำลังพัฒนา (สมัครเล่น) CDM การสนับสนุน การเงิน ผ่าน GEF ทวิภาคี พหุภาคี เทคโนโลยี ไม่คืบหน้า เสริมสร้างจิตสำนึก ได้ระดับหนึ่ง

5 ปีที่ผ่านมา มีอะไรน่าสนใจ ในกระบวนการเจรจา เริ่มเจรจาพันธกรณีรอบใหม่ภายใต้พิธีสารเกียวโต AWG-KP เริ่มเจรจาพันธกรณีรอบใหม่ภายใต้อนุสัญญาฯ AWG-LCA เห็นชอบ Bali Road Map (Bali Action Plan - mitigation, adaptation, technology and financing) “take note” Copenhagen Accord (กำหนดเป้าหมายไม่มีบทบังคับ สร้างแรงจูงใจ finance) ปีนี้ถือว่าการเจรจาล้มเหลวหรือถอยหลัง เห็นชอบ (ส่วนใหญ่) Cancun agreements เห็นชอบ Durban Platform for Further Action (แต่ดูอ่อนเปลี้ยเพลียแรงอย่างไรไม่รู้)

5 ปีที่ผ่านมา ในกลุ่มเจรจา Negotiation block Annex I, Annex II Non-Annex I UN regional groups Africa, Asia, GRULAC, Eastern Europe, Western Europe and others Interest groups G77+China, EU, Umbrella, AOSIS, LDCs,, EIG, CRN, COMIFAC, SICA, CD, ALBA, HVC, OPEC, BASIC G77+China เริ่มแยกตามผลประโยชน์เฉพาะกลุ่มมากขึ้น ๆ (mitigation, V&A, finance) และบางครั้งก็ขัดแย้งกันเอง

สรุปความเป็นจริง อนุสัญญาฯ เป็นเพียงกรอบและมีศักยภาพเพียงระดับหนึ่ง การลดก๊าซอย่างจริงจังเกิดขึ้นในพิธีสารเกียวโต ใกล้สิ้นสุดการดำเนินการ (เห็นดำเห็นแดง) เรียนรู้ต้นทุนทางเศรษฐกิจของการลดก๊าซ บางประเทศได้ “โดยสารฟรี” และทุกประเทศอยากเป็น “ผู้โดยสารฟรี” ประเทศเปลี่ยนใจตามกระแสการเมือง (แคนาดา) ประเทศปรับตัวตามสถานะการณ์การเจรจา V&A ถูกละเลยเมินเฉยตลอดมา (และคงตลอดไป)

ปัญหาอยู่ที่ไหน? ทุกประเทศทราบถึงปัญหาและเห็นพ้องต้องกันว่าต้องลดก๊าซเรือนกระจก แต่ทำไมจึงไม่เห็นอะไรเป็นเนื้อเป็นหนัง เพราะมีผลต่อเศรษฐกิจของตนอย่างสำคัญ (ต้นทุนในการลดก๊าซ ทรัพย์สินทางปัญญา ความได้เปรียบทางการค้า) อยากเป็น “ผู้โดยสารฟรี” (เพราะเป็นผลประโยชน์ร่วมที่แบ่งแยกไม่ได้) เป็นเรื่องผลประโยชน์และการเมืองระหว่างประเทศและในประเทศ

การเมืองเรื่องโลกร้อน: จะทำอะไรต่อ? กำลังเจรจาแนวทางดำเนินการรอบใหม่ (ที่สอง) การดำเนินการในระยะยาว แค่ไหน เป้าหมายเท่าไหร่ ใครบ้างที่ต้องลดตามเป้าหมาย? เอาอะไรเป็นเกณฑ์การลด? จะทำให้ทุกประเทศมีส่วนร่วม(อย่างมีความหมาย)ได้อย่างไร? ฯลฯ คงจบลงเป็น package ทิศทางที่ต้องระวัง การถ่ายโอนก๊าซเรือนกระจกข้ามประเทศ การเปลี่ยนแนวคิดจาก source of origin เป็น destination เกี่ยวข้องกับการค้าอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้

ขอขอบคุณ vute.w@ku.ac.th