05/04/60 รายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม โครงการติดตั้งหน่วยควบคุมไอน้ำมันเชื้อเพลิง และเพิ่มประเภทผลิตภัณฑ์ไบโอดีเซล (ขอเปลี่ยนแปลงรายละเอียดโครงการ)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
หมวดหมู่ข้อมูล ข้อมูลด้านพลังงาน ข้อมูลด้านสังคมและสิ่งแวดล้อม
Advertisements

งานกลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการฯ
พื้นที่จุดอ่อนน้ำท่วมและการแก้ปัญหา
โครงการพลังงานสัญจร “เปิดโลกปิโตรเลียม” บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)
ยินดีต้อน เข้าสู่ โครงงาน.
คำสั่ง : ให้นิสิตทุกคนส่ง การบ้านอาทิตย์หน้า ทั้ง Report II – III อย่างละ 1 หน้า.
นโยบายและแนวทาง การจัดการมูลฝอยติดเชื้อ ของกรุงเทพมหานคร
ยุทธศาสตร์ชาติ เพื่อการพัฒนาที่อยู่อาศัย
สถานการณ์และนโยบายการจัดการมูลฝอยติดเชื้อ
ปิโตรเลียมและผลิตภัณฑ์
งานกลุ่มส่งเสริมและ พัฒนาการบริหารการ จัดการฯ ผลงาน ณ เดือน เมษายน 2551.
รายละเอียดตัวชี้วัดที่ 10 (จังหวัด)
การใช้พลังงานในเศรษฐกิจไทย
น้ำมันไบโอดีเซล คืออะไร
สถานที่ตั้ง : หมู่ที่ 2 ตำบลปากล่อ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง “สถานการณ์มลพิษทางอากาศ ในบรรยากาศในภาคตะวันออก” หลักการและเหตุผล มลภาวะทางอากาศ (Air pollution) เป็นปัญหาสิ่งแวดล้อมที่สำคัญ.
งานกลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการฯ
เรื่อง ความรู้เกี่ยวกับการจัดเก็บภาษีสุรา
โรงไฟฟ้าพลังน้ำ Hydro Power Plant.
อย่างถูกหลักสุขาภิบาล
พื้นที่ลุ่มน้ำภาคตะวันออก ลุ่มน้ำชายฝั่งทะเลตะวันออก
ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง
ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับมาตรการ การตรึงราคา/กำหนดระดับราคาน้ำมัน
ความคิดเห็นของข้าราชการเกี่ยวกับ สวัสดิการการรักษาพยาบาล พ.ศ. 2546
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
การสำรวจความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับเขื่อนปากมูล
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สิงหาคม.
ตัวชี้วัดการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคด้านอาหาร ปีงบประมาณ พ.ศ. 2556
ข้อมูลเศรษฐกิจการค้า
ประกาศกรมการขนส่งทางบก เรื่อง กำหนดขนาด จำนวน และคุณภาพของเครื่องดับเพลิงสำหรับรถที่ใช้ในการขนส่งสัตว์หรือสิ่งของ ลักษณะ 4 (รถบรรทุกวัสดุอันตราย) พ.ศ.
ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เรื่อง กำหนดมาตรฐานควบคุมการปล่อยทิ้ง ไอน้ำมันเบนซินจากคลังน้ำมันเชื้อเพลิง ประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรมเรื่อง มาตรการคุ้มครองความปลอดภัยในการประกอบกิจการโรงงาน ขุด ตัก ลอกหรือดูดทรายหรือดินในที่ดินกรรมสิทธิ์ สำหรับใช้ในการก่อสร้าง.
ประกาศสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน ป
ประกาศกรมธุรกิจพลังงาน เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการคำนวณปริมาณน้ำมันเชื้อเพลิงคงเหลือสุทธิ พ.ศ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา 2 พฤศจิกายน 2554.
ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เรื่อง กำหนดให้โรงงานกลั่นน้ำมันปิโตรเลียมเป็นแหล่งกำเนิดมลพิษที่จะต้องถูกควบคุมการปล่อยทิ้งอากาศเสียออกสู่บรรยากาศ.
ประกาศการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทยที่ 78/2554 เรื่องหลักเกณฑ์ทั่วไปในการระบายน้ำเสียเข้าสู่ระบบบำบัดน้ำเสียส่วนกลางในนิคมอุตสาหกรรม ประกาศ ณ วันที่
ประกาศคณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน เรื่อง มาตรการป้องกัน แก้ไข และติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดล้อมสำหรับผู้ได้รับการยกเว้นไม่ต้องจัดทำรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมตามกฎหมายว่าด้วยการส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมสำหรับการผลิตไฟฟ้าจากเชื้อเพลิงชีว
มาตรฐานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน
วันอังคารที่ 22 กรกฎาคม พ.ศ.2551
โดยนางสาวจงจิตร์ นีรนาทเมธีกุล ผู้อำนวยการสำนักงานสิ่งแวดล้อมภาคที่ 16
การประชุมชี้แจงรายละเอียด
อุตสาหกรรมหล่อหลอมโลหะ
ผลิตเป็นเม็ดพลาสติกสี
วิศวกรรมสิ่งแวดล้อม 1. ระบบประปา 2. ระบบรวบรวมและบำบัดน้ำเสีย
ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการดำเนินการ มาตรการประหยัดพลังงาน
กฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานในการบริหารและการจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทำงานเกี่ยวกับไฟฟ้าพ.ศ ประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่
มาตรฐานฟาร์มเลี้ยงสัตว์
แผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2550 – 2552) องค์การบริหารส่วนตำบลทางเกวียน
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ การป้องกันและปราบปรามยาเสพติด (ก่อนและหลัง การประกาศสงครามขั้นแตกหักเพื่อเอาชนะยาเสพติด) พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติ
มาตรการป้องกันแก้ไขผลกระทบฯ เบื้องต้น
ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเรื่อง กำหนดมาตรฐานค่าความทึบแสงของเขม่าควันจากสถานประกอบกิจการที่ใช้ หม้อไอน้ำ ประกาศราชกิจจานุเบกษา วันที่
มาตรการประหยัดพลังงาน
ฐิฎา ไกรวัฒนพงศ์ นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ ศูนย์อนามัยที่ 1.
กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ อก.
ประกาศกรมสรรพสามิต เรื่อง หลักเกณฑ์และเงื่อนไขการยกเว้นภาษีน้ำมันและผลิตภัณฑ์น้ำมันที่นำไปใช้เป็นวัตถุดิบ หรือส่วนประกอบในการผลิตในโรงอุตสาหกรรมน้ำมันและผลิตภัณฑ์น้ำมัน(ฉบับที่
ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เรื่อง กำหนดประเภทของอาคารเป็นแหล่งกำเนิดมลพิษที่ต้องถูกควบคุมการปล่อยน้ำเสียลงสู่แหล่งน้ำสาธารณะหรือออกสู่สิ่งแวดล้อม.
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1 ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม เรื่อง กำหนดให้โรงงานอุตสาหกรรมเคมี บางประเภทเป็นแหล่งกำเนิดมลพิษ.
ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเรื่อง กำหนดให้คลังน้ำมันเชื้อเพลิงเป็นแหล่งกำเนิดมลพิษที่จะต้องถูกควบคุมการปล่อยทิ้งอากาศเสียออกสู่บรรยากาศ.
ประกาศกระทรวงพลังงาน เรื่องระบบรับและจ่ายน้ำมันเชื้อเพลิงเหนือถังสำหรับระบบควบคุมไอน้ำมันเชื้อเพลิง พ.ศ ประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่ 6 พฤษภาคม.
ประกาศกระทรวงพลังงาน เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการจัดทำรายงานการประเมินความเสี่ยงในคลังน้ำมัน พ.ศ ประกาศราชกิจจานุเบกษา วันที่ 27 ตุลาคม 2557.
ผลการประเมิน คุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีการศึกษา
ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เรื่อง กำหนดมาตรฐานควบคุมการปล่อยทิ้งสารเบนซีน และสาร 1, 3 - บิวทาไดอีน จากโรงงานอุตสาหกรรมเคมี ประกาศในราชกิจจานุเบกษา.
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1 ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม เรื่อง กำหนดประเภท ขนาด และวิธีปฏิบัติสำหรับโครงการ หรือกิจการที่อาจก่อให้เกิดผลกระทบ.
ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑ์การจัดทำแผนงานด้านความปลอดภัยในการทำงานสำหรับงานก่อสร้าง พ.ศ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา วันที่
ประกาศกรมควบคุมมลพิษ เรื่อง กำหนดค่าเฝ้าระวังสำหรับสารอินทรีย์ระเหยง่ายในบรรยากาศโดยทั่วไปในเวลา 24 ชั่วโมง ประกาศในราชกิจจานุเบกษา วันที่ 27 มกราคม.
ประกาศกรมธุรกิจพลังงาน เรื่อง การกำหนดบริเวณอันตราย ในการติดตั้งระบบไฟฟ้า เครื่องใช้ไฟฟ้า อุปกรณ์ไฟฟ้า และบริภัณฑ์ของสถานที่ใช้ก๊าซปิโตรเลียมเหลว พ.ศ.
ประกาศการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทยที่ 62/2555 เรื่อง การรายงานผลการดำเนินงานตามแผนบริหาร จัดการความเสี่ยงตามที่กำหนดไว้ในรายงาน การวิเคราะห์ความเสี่ยงจากอันตราย.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

05/04/60 รายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม โครงการติดตั้งหน่วยควบคุมไอน้ำมันเชื้อเพลิง และเพิ่มประเภทผลิตภัณฑ์ไบโอดีเซล (ขอเปลี่ยนแปลงรายละเอียดโครงการ) บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จำกัด (มหาชน) นิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด จังหวัดระยอง PTTAR-VRU_ONEP(10-Nov-08)-CH2.ppt

ความเป็นมาและวัตถุประสงค์ของโครงการ 05/04/60 ความเป็นมาและวัตถุประสงค์ของโครงการ รายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม ประกอบด้วย 2 โครงการ การติดตั้งระบบควบคุมไอน้ำมันเชื้อเพลิง เพื่อให้เป็นไปตามประกาศกระทรวง เรื่อง ควบคุมไอน้ำมันเชื้อเพลิง พ.ศ.2550 เพื่อลดการระบายสารอินทรีย์ระเหยง่ายออกสู่บรรยากาศ การเพิ่มประเภทผลิตภัณฑ์ไบโอดีเซล เพื่อให้เป็นไปตามนโยบายของกรมธุรกิจพลังงาน ในการส่งเสริมการใช้ผลผลิตทางการเกษตรภายในประเทศ และลดการนำเข้าน้ำมันดิบ ทั้งนี้ การขอเปลี่ยนแปลงรายละเอียดโครงการ ไม่ทำให้กำลังการกลั่นเพิ่มขึ้น PTTAR-VRU_ONEP(10-Nov-08)-CH2.ppt

การจัดผังพื้นที่ของโรงกลั่นน้ำมันระยอง 05/04/60 การจัดผังพื้นที่ของโรงกลั่นน้ำมันระยอง การติดตั้งระบบควบคุมไอน้ำมันเชื้อเพลิง (VRU) และการเพิ่มประเภทผลิตภัณฑ์ไบโอดีเซล ดำเนินการบริเวณสถานีขนถ่ายน้ำมันทางรถบรรทุก โรงกลั่นน้ำมันระยอง มีพื้นที่รวม 756 ไร่ แบ่งออกเป็น อาคารสำนักงาน พื้นที่ส่วนการผลิต ระบบบำบัดน้ำเสียและกากตะกอน ส่วนผลิตกระแสไฟฟ้า พื้นที่ขนถ่ายทางรถยนต์และระบบสาธารณูปโภคอื่นๆ ขนาด 256 ไร่ (พื้นที่ชายฝั่งเดิม) พื้นที่คลังน้ำมันหลัก ขนาด 500 ไร่ (พื้นที่ถมทะเล) PTTAR-VRU_ONEP(10-Nov-08)-CH2.ppt

ที่ตั้งโครงการฯ ภายโรงกลั่นน้ำมันระยอง 05/04/60 ที่ตั้งโครงการฯ ภายโรงกลั่นน้ำมันระยอง ที่ตั้งโครงการ จะยกเลิก HPU PTTAR-VRU_ONEP(10-Nov-08)-CH2.ppt

ที่ตั้งโครงการฯ ภายโรงกลั่นน้ำมันระยอง 05/04/60 ถังเก็บกักเมทิลเอสเตอร์ ท่อรวบรวมไอไฮโดรคาร์บอนจากถังเก็บกักไปยัง VRU VRU ท่อรวบรวมไอไฮโดรคาร์บอนจาก Loading Arm บริเวณสถานีสูบถ่ายน้ำมันทางรถ ไปยัง VRU PTTAR-VRU_ONEP(10-Nov-08)-CH2.ppt

การติดตั้งระบบควบคุมไอน้ำมันเชื้อเพลิง (VRU) แผนการดำเนินโครงการ ก่อสร้างประมาณเดือนธันวาคม พ.ศ. 2551 ดำเนินการผลิตได้ประมาณเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2552 ท่อและอุปกรณ์ที่ติดตั้งเพิ่มเติม ติดตั้ง Activated carbon 2 vessel ท่อรวบรวมไอไฮโดรคาร์บอนจากรถบรรทุกน้ำมันไปยัง VRU ท่อรวบรวมไอไฮโดรคาร์บอนจากถังเก็บกักผลิตภัณฑ์ไปยัง VRU ติดตั้ง Blower สำหรับรวบรวมไอไฮโดรคาร์บอน ไปยังสถานีสูบถ่ายน้ำมันทางรถ ติดตั้ง Total Hydrocarbon Analyzer (THC) ที่ปลายปล่อง VRU

ติดตั้ง THC Online Analyzer หน่วยควบคุม ไอน้ำมันเบนซิน 05/04/60 การติดตั้งระบบควบคุมไอน้ำมันเชื้อเพลิง (VRU) ขั้นตอนการทำงานของ VRU ติดตั้ง THC Online Analyzer หน่วยควบคุม ไอน้ำมันเบนซิน VRU removal Efficiency 95% ถังเก็บน้ำมันเบนซิน ถังเก็บน้ำมันเบนซิน PTTAR-VRU_ONEP(10-Nov-08)-CH2.ppt

การเพิ่มประเภทผลิตภัณฑ์ไบโอดีเซล 05/04/60 การเพิ่มประเภทผลิตภัณฑ์ไบโอดีเซล แผนการดำเนินโครงการ ก่อสร้างประมาณเดือนธันวาคม พ.ศ.2551 ดำเนินการผลิตได้ประมาณเดือนพฤษภาคม พ.ศ.2552 วัตถุดิบ น้ำมันดีเซลซึ่งเป็นผลิตภัณฑ์ของโรงกลั่นฯ เมทิลเอสเตอร์ (B100) เป็นกรดไขมันประเภทหนึ่งที่อยู่ในน้ำมันปาล์ม รับจากผู้ผลิตภายในประเทศ เช่น บริษัท พลังงานบริสุทธิ์ จำกัด (มหาชน) บริษัท โอลีโอเคมี จำกัด ผลิตภัณฑ์ ไบโอดีเซล (ผลิตภัณฑ์ใหม่) ประมาณ 1,500 ตันต่อวัน PTTAR-VRU_ONEP(10-Nov-08)-CH2.ppt

การเพิ่มประเภทผลิตภัณฑ์ไบโอดีเซล 05/04/60 การเพิ่มประเภทผลิตภัณฑ์ไบโอดีเซล ขั้นตอนการผลิตไบโอดีเซล c B100 c B100 Diesel Loading PTTAR-VRU_ONEP(10-Nov-08)-CH2.ppt

การเพิ่มประเภทผลิตภัณฑ์ไบโอดีเซล (ต่อ) 05/04/60 การเพิ่มประเภทผลิตภัณฑ์ไบโอดีเซล (ต่อ) ก่อสร้างถังเก็บกักเมทิลเอสเตอร์ของกรดไขมัน (B100 Tank) จำนวน 2 ถัง ขนาดถังละ 1,500 ลูกบาศก์เมตร ติดตั้งท่อลำเลียง เพื่อลำเลียง B100 จากรถบรรทุก ไปยังถังเก็บกัก เพื่อลำเลียง B100 จากถังเก็บกัก เพื่อไปผสมลงในน้ำมันดีเซล ติดตั้งปั๊มสูบถ่าย สำหรับสูบถ่าย B100 จากรถบรรทุก ไปยังถังเก็บกัก สำหรับผสม B100 จากถังเก็บกัก ไปยังสถานีสูบถ่ายน้ำมันทางรถ PTTAR-VRU_ONEP(10-Nov-08)-CH2.ppt

การเพิ่มประเภทผลิตไบโอดีเซล (ต่อ) 05/04/60 การเพิ่มประเภทผลิตไบโอดีเซล (ต่อ) ติดตั้งอุปกรณ์ป้องกันและระงับอัคคีภัยที่ติดตั้งเพิ่มเติม Wheel Dry Chemical Powder Mobile Foam Extinguisher วาล์วนิรภัย (Safety Valve) บนหลังคาของถังเก็บกัก PTTAR-VRU_ONEP(10-Nov-08)-CH2.ppt

ความสอดคล้องกับประกาศ ปี พ.ศ.2548 Hazardous waste Absolute entry 05/04/60 ชนิด ปริมาณ และการจัดการกากของเสีย ที่เกิดขึ้นจากโครงการฯ ชนิดของกากของเสีย หน่วย ปริมาณ ความสอดคล้องกับประกาศ ปี พ.ศ.2548 การจัดการ กากของเสียอันตราย จากหน่วย VRU (ติดตั้งใหม่) ตันต่อ 10 ปี 24 Hazardous waste Absolute entry รวบรวมใส่ภาชนะที่มีฝาปิดมิดชิดและส่งไปยังหน่วยงานรับกำจัดกากของเสียที่ได้รับอนุญาตจากทางราชการ กากของเสียไม่อันตราย ขยะจากคนงานก่อสร้าง กก. ต่อวัน 70 - รวบรวมและส่งเทศบาลเมือง มาบตาพุดนำไปกำจัด เพิ่มกากของเสียจาก FCC Scrubber PTTAR-VRU_ONEP(10-Nov-08)-CH2.ppt

การจัดการด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัย 05/04/60 การจัดการด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัย ระบบป้องกันอัคคีภัยภายในโรงกลั่นฯ มี Fire Water Pump 3 เครื่อง ได้แก่ Electric Motor 1 เครื่อง และ Diesel Engine 2 เครื่อง ระบบ Sprinkler ด้วยน้ำและโฟม ระบบกล้องวงจรปิด ระบบเตือนไฟไหม้ รถดับเพลิง เครื่องดับเพลิงอัตโนมัติ โดยใช้ CO2 Fixed Gas Detector ระบบน้ำสำรองดับเพลิง 16,000 m3 ระบบโฟมสำรอง 19,000 ลิตร PTTAR-VRU_ONEP(10-Nov-08)-CH2.ppt

การตรวจวัดคุณภาพสิ่งแวดล้อม 05/04/60 การตรวจวัดคุณภาพสิ่งแวดล้อม PTTAR-VRU_ONEP(10-Nov-08)-CH2.ppt

ทิศเหนือของ โรงกลั่นน้ำมันระยอง ทิศเหนือท่าเทียบเรือ 05/04/60 คุณภาพอากาศในบรรยากาศ ตำแหน่งตรวจวัดคุณภาพอากาศในบรรยากาศ 4 วัดมาบตาพุด โรงเรียนบ้านหนองแฟบ ชุมชนบ้านอ่าวประดู่ 3 1 5 ทิศเหนือของ โรงกลั่นน้ำมันระยอง ทิศเหนือท่าเทียบเรือ 2 PTTAR-VRU_ONEP(10-Nov-08)-CH2.ppt

ผลการตรวจวัดคุณภาพอากาศในบรรยากาศ ระหว่างปี พ.ศ.2548-2551 05/04/60 ผลการตรวจวัดคุณภาพอากาศในบรรยากาศ ระหว่างปี พ.ศ.2548-2551 พารามิเตอร์ หน่วย ผลการตรวจวัด ค่ามาตรฐาน SO2-1 hr ppb 0-500 300 SO2-24 hr 0.30-84.50 120 NO2-1 hr 0-58.50 170 H2S-2 hr ppm <0.001-0.003 - TSP mg/m3 0.013-0.254 0.330 PM-10* 0.008-0.123 0.120 THC-3 hr 1.72-27.1 NMHC-3 hr 0-24.30 หมายเหตุ : 1. ค่ามาตรฐานตามประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ 2. SO2-1 hr มีค่าเกินมาตรฐานกำหนด ที่บริเวณทิศเหนือของโรงกลั่นฯ, ทิศเหนือของท่าเทียบเรือ, วัดมาบตาพุด และ ชุมชนอ่าวประดู่ ตรวจวัดวันที่ 19-21 ธันวาคม 2549 ในช่วงเวลากลางคืน โดยพบในช่วงเวลาสั้น ซึ่งในขณะนี้อยู่ระหว่างการตรวจสอบหาสาเหตุ 3. * ตรวจวัดบริเวณทิศเหนือของโรงกลั่นฯ และทิศเหนือของท่าเทียบเรือ PTTAR-VRU_ONEP(10-Nov-08)-CH2.ppt

คุณภาพอากาศจากปล่องระบายอากาศ 05/04/60 คุณภาพอากาศจากปล่องระบายอากาศ ผลการตรวจวัดคุณภาพอากาศจากปล่องระบายอากาศ ระหว่างปี พ.ศ.2548-2551 จุดตรวจวัด ผลการตรวจวัดที่ 7%O2 PM (mg/Nm3) SO2 (ppm) NOx H2S VOC Main Stack 24.4-193.8 311.9-637.7 57.8-88.1 ND-0.14 ND-0.1 HCU 0.9-8.2 0.8-7.9 41.7-59.4 ND ND-0.6 HMU 1.6-9.7 0.1-2.3 18.7-27.6 ND-2.8 ค่ามาตรฐาน1/ 300 950 200 80 172/ หมายเหตุ : 1. 1/ ค่ามาตรฐานตามประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม พ.ศ.2548 2. 2/ ค่ามาตรฐานตามประกาศกระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม ฉบับที่ 2 (พ.ศ.2545) 3. * ปัจจุบันได้หยุดเดินเครื่อง Incinerator PTTAR-VRU_ONEP(10-Nov-08)-CH2.ppt

ผลการตรวจวัดคุณภาพอากาศจากปล่องระบายอากาศของส่วนผลิตไฟฟ้า 05/04/60 ผลการตรวจวัดคุณภาพอากาศจากปล่องระบายอากาศของส่วนผลิตไฟฟ้า ระหว่างปี พ.ศ.2548-2551 จุดตรวจวัด ผลการตรวจวัดที่ 7%O2 SO2 (ppm) NOx (ppm) CO (ppm) Gas Turbine 1 0.6-2.9 112.2-187.5 242.6-665.2 Gas Turbine 2 0.3-1.4 94.1-168.8 249.6-678.6 Gas Turbine 3 0.2-1.9 101.1-175.7 328.5-807.7 ค่ามาตรฐาน 2/ 950 200 690/8701/ หมายเหตุ : 1. 1/ ค่ามาตรฐานตามประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 2 (พ.ศ.2536) 2. 2/ ค่ามาตรฐานตามประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม พ.ศ.2548 PTTAR-VRU_ONEP(10-Nov-08)-CH2.ppt

ผลการตรวจวัดคุณภาพอากาศจากปล่องระบายอากาศของถังกำมะถัน และหน่วย VRU 05/04/60 ผลการตรวจวัดคุณภาพอากาศจากปล่องระบายอากาศของถังกำมะถัน และหน่วย VRU ระหว่างปี พ.ศ.2548-2551 จุดตรวจวัด ผลการตรวจวัด SO2 (ppm) H2S (ppm) VOC (mg/l) ถังกำมะถัน Inlet 2.3-115.6 ND-0.9 - Outlet 0.2-4.3 ND-0.7 หน่วย VRU 7.1-62.8 Outlet V5204 0.2-12.9 Outlet V5205 0.1-6.8 ค่ามาตรฐาน1/ 100 17 2/ หมายเหตุ : 1. 1/ ค่ามาตรฐานตามประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม พ.ศ.2548 2. 2/ ค่ามาตรฐานตามประกาศกระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม ฉบับที่ 2 (พ.ศ.2545) PTTAR-VRU_ONEP(10-Nov-08)-CH2.ppt

ผลการตรวจวัดระดับความดังเสียง dB(A) 05/04/60 ระดับเสียง จุดตรวจวัด โรงเรียนบ้านหนองแฟบ, วัดมาบตาพุด, ชุมชนอ่าวประดู่ พารามิเตอร์ Leq24, Ldn ผลการตรวจวัด ระหว่างปี พ.ศ.2548-2551 จุดตรวจวัด ผลการตรวจวัดระดับความดังเสียง dB(A) Leq24 Ldn โรงเรียนบ้านหนองแฟบ 51.3-62.2 55.7-71.3 วัดมาบตาพุด 48.8-63.3 54.3-72.0 ชุมชนอ่าวประดู่ 50.9-60.5 56.4-81.1 ค่ามาตรฐาน 70 - หมายเหตุ : ค่ามาตรฐานตามประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับที่ 15 (พ.ศ.2540) PTTAR-VRU_ONEP(10-Nov-08)-CH2.ppt

การสำรวจความคิดเห็นของชุมชน 05/04/60 การสำรวจความคิดเห็นของชุมชน โดยแบบสอบถาม จำนวน 316 ตัวอย่าง ระหว่างวันที่ 22-23 และ 29 กันยายน พ.ศ.2550 ชุมชนที่ทำการสำรวจ 6 ชุมชน ระยะ 0-3 กิโลเมตร ซอยร่วมพัฒนา หนองน้ำเย็น ตากวน-อ่าวประดู่ คลองน้ำหู ระยะ > 3-5 กิโลเมตร กรอกยายชา เกาะกก-หนองแตงเม PTTAR-VRU_ONEP(10-Nov-08)-CH2.ppt

การสำรวจความคิดเห็นของชุมชน (ต่อ) 05/04/60 การสำรวจความคิดเห็นของชุมชน (ต่อ) สรุปความคิดเห็นของหัวหน้าครัวเรือนหรือผู้แทนครัวเรือน เห็นด้วย 63.61 % ไม่เห็นด้วย 33.54 % ไม่แสดงความคิดเห็น 2.85 % การสำรวจความคิดเห็นของผู้แทนหน่วยงานราชการ/รัฐวิสาหกิจ โดยการสนทนา/สัมภาษณ์/พูดคุยแลกเปลี่ยนความคิดเห็น จำนวน 10 ท่าน จาก 7 หน่วยงาน ระหว่างวันที่ 11-12 กันยายน พ.ศ.2551 เห็นด้วยกับโครงการทุกท่าน PTTAR-VRU_ONEP(10-Nov-08)-CH2.ppt

การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม 05/04/60 1. คุณภาพอากาศ 2. เสียง PTTAR-VRU_ONEP(10-Nov-08)-CH2.ppt

1. คุณภาพอากาศ ระยะก่อสร้าง 05/04/60 1. คุณภาพอากาศ ระยะก่อสร้าง เกิดผลกระทบจากฝุ่นละออง เนื่องจากกิจกรรม การก่อสร้าง การปรับพื้นที่ การขนส่งคนงานและเครื่องจักร เกิดขึ้นเฉพาะในระยะก่อสร้างและระยะเวลาสั้นๆ ดังนั้น ทางโครงการฯ จึงมีมาตรการในการลดผลกระทบ เพื่อให้เกิดผลกระทบน้อยที่สุด PTTAR-VRU_ONEP(10-Nov-08)-CH2.ppt

1. คุณภาพอากาศ (ต่อ) ระยะดำเนินการ : 05/04/60 1. คุณภาพอากาศ (ต่อ) ระยะดำเนินการ : การติดตั้งระบบควบคุมไอน้ำมันเชื้อเพลิง (VRU) ประเมินผลกระทบจากการระบาย VOC และ Benzene PTTAR-VRU_ONEP(10-Nov-08)-CH2.ppt

1. คุณภาพอากาศ (ต่อ) ข้อมูลสำหรับใช้กับแบบจำลอง : 05/04/60 1. คุณภาพอากาศ (ต่อ) แนวทางการประเมินผลกระทบโดยแบบจำลองทางคณิตศาสตร์ แบบจำลองทางคณิตศาสตร์ : AERMOD ข้อมูลสำหรับใช้กับแบบจำลอง : ข้อมูลอุตุนิยมวิทยา ปี พ.ศ.2550 สถานีตรวจอากาศสัตหีบ ของกรมอุตุนิยมวิทยา สถานีตรวจอากาศ ของการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย สถานีตรวจอากาศกรุงเทพ PTTAR-VRU_ONEP(10-Nov-08)-CH2.ppt

1. คุณภาพอากาศ (ต่อ) ข้อมูลผู้รับผลกระทบ 05/04/60 1. คุณภาพอากาศ (ต่อ) ข้อมูลผู้รับผลกระทบ กำหนดตามระยะทางจากแหล่งกำเนิด 2,000 กริด ขนาดพื้นที่ 18x25 km2 (450 km2) ข้อมูลแหล่งกำเนิดสารมลพิษทางอากาศ จาก VRU ที่มีอยู่เดิมบริเวณลานถังของโรงกลั่น น้ำมันระยอง จากโครงการฯ ทั้งก่อนและหลังปรับลดอัตราการระบาย PTTAR-VRU_ONEP(10-Nov-08)-CH2.ppt

การติดตั้งระบบควบคุมไอน้ำมันเชื้อเพลิง (VRU) 05/04/60 การติดตั้งระบบควบคุมไอน้ำมันเชื้อเพลิง (VRU) ข้อมูลแหล่งกำเนิดสารมลพิษทางอากาศ จากแหล่งกำเนิดที่มีอยู่เดิม : โรงกลั่นน้ำมันระยอง 1 ปล่อง จากโครงการ ทั้งก่อนและหลังติดตั้ง VRU จากแหล่งกำเนิดเดิมที่มีอยู่ในพื้นที่ รวมกับแหล่งกำเนิด ของโครงการ ทั้งก่อนและหลังติดตั้งระบบฯ สารมลพิษที่ใช้ในการประเมินผลกระทบ VOC และ Benzene PTTAR-VRU_ONEP(10-Nov-08)-CH2.ppt

ค่าความเข้มข้นสูงสุด (µg/m3) 05/04/60 ผลการประเมินค่าความเข้มข้นสูงสุดของสารอินทรีย์ระเหยง่าย และเบนซีน ในบรรยากาศ โดยแบบจำลองทางคณิตศาสตร์ กรณีศึกษา ค่าความเข้มข้นสูงสุด (µg/m3) VOC Benzene 1 hr 1 Y กรณีที่ 1 แหล่งกำเนิดเดิมที่มีอยู่ในพื้นที่ คือ จาก VRU บริเวณ ลานถังของโรงกลั่นน้ำมันระยอง - 49 1.4 กรณีที่ 2 แหล่งกำเนิดของโครงการ ก่อนมีการติดตั้ง VRU 14,202 829 577 33.7 กรณีที่ 3 แหล่งกำเนิดของโครงการ ภายหลังมีการติดตั้ง VRU 710 41 12 0.7 กรณีที่ 4 แหล่งกำเนิดเดิมที่มีอยู่ในพื้นที่ รวมกับแหล่งกำเนิดของ โครงการฯ ก่อนมีการติดตั้ง VRU 33.9 กรณีที่ 5 ผลกระทบเนื่องจากแหล่งกำเนิดเดิมที่มีอยู่ในพื้นที่ รวม กับแหล่งกำเนิดของโครงการฯ ภายหลังมีการติดตั้ง VRU ค่ามาตรฐาน 1.7 PTTAR-VRU_ONEP(10-Nov-08)-CH2.ppt

2. เสียง แบบจำลองทางคณิตศาสตร์ : Decay Formular Model 05/04/60 2. เสียง แนวทางการประเมินผลกระทบ แบบจำลองทางคณิตศาสตร์ : Decay Formular Model ระดับเสียงสูงสุดที่กำหนด ระยะก่อสร้าง : 101 dB(A) จากการเจาะเสาเข็ม ที่ระยะห่างจากเครื่องจักร ประมาณ 1 เมตร ระยะดำเนินการ : 85 dB(A) ที่ระยะห่างจาก เครื่องจักร 1 เมตร PTTAR-VRU_ONEP(10-Nov-08)-CH2.ppt

การติดตั้ง VRU และการเพิ่มประเภทผลิตภัณฑ์ไบโอดีเซล 05/04/60 การติดตั้ง VRU และการเพิ่มประเภทผลิตภัณฑ์ไบโอดีเซล ระยะก่อสร้าง ชุมชน ระดับความดังของเสียง (เดซิเบล(เอ)) ระดับเสียง ของพื้นที่ (L90) ระดับเสียงของโครงการ ค่าระดับเสียงรบกวนเวลากลางวัน 1. ชุมชนอ่าวประดู่ 49.1-60.3 48.4 2. ชุมชนตากวน 46.0-58.8 36.6 3. สถานีอนามัยมาบตาพุด 45.6-56.6 30.2 ค่ามาตรฐาน 10 PTTAR-VRU_ONEP(10-Nov-08)-CH2.ppt

การติดตั้ง VRU และการเพิ่มประเภทผลิตภัณฑ์ไบโอดีเซล 05/04/60 การติดตั้ง VRU และการเพิ่มประเภทผลิตภัณฑ์ไบโอดีเซล ระยะดำเนินการ ชุมชน ระดับความดังของเสียง (เดซิเบล(เอ)) ระดับเสียง ของพื้นที่ (L90) ระดับเสียงของโครงการ ค่าระดับเสียงรบกวนเวลากลางวัน 1. ชุมชนอ่าวประดู่ 49.1-60.3 37.2 2. ชุมชนตากวน 46.0-58.8 25.1 3. สถานีอนามัยมาบตาพุด 45.6-56.6 19.0 ค่ามาตรฐาน 10 PTTAR-VRU_ONEP(10-Nov-08)-CH2.ppt

การติดตั้ง VRU และการเพิ่มประเภทผลิตภัณฑ์ไบโอดีเซล 05/04/60 การติดตั้ง VRU และการเพิ่มประเภทผลิตภัณฑ์ไบโอดีเซล ระยะดำเนินการ ชุมชน ระดับความดังของเสียง (เดซิเบล(เอ)) ระดับเสียง ของพื้นที่ (L90) ระดับเสียงของโครงการ ค่าระดับเสียงรบกวนเวลากลางคืน 1. ชุมชนอ่าวประดู่ 46.8-56.6 40.2 2. ชุมชนตากวน 42.2-48.9 28.1 3. สถานีอนามัยมาบตาพุด 42.9-53.1 22.0 ค่ามาตรฐาน 10 PTTAR-VRU_ONEP(10-Nov-08)-CH2.ppt

มาตรการด้านสิ่งแวดล้อมที่กำหนดเพิ่มเติม ควบคุมการระบายสารมลพิษทางอากาศจาก VRU Stack ติดตั้งเครื่องตรวจวัดอุณหภูมิแบบต่อเนื่อง ติดตั้ง Total Hydrocarbon Analyser ที่ปล่อง VRU จัดให้มี Preventive Maintenance ระบบ VRU ดูแลและตรวจสอบการทำงานของระบบ VRU อย่างสม่ำเสมอ ตรวจวัดค่าความเข้มข้นของเบนซีนบริเวณสถานีขนถ่ายน้ำมันทางรถบรรทุก ปีละ 2 ครั้ง จัดทำ Noise Contour Map ในพื้นที่เสียงดัง ทุก 5 ปี