เขตการค้าเสรี ไทย-อินเดีย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
หน่วยที่ 13 ธุรกิจการเกษตร
Advertisements

แผนนำทางส่งออกไทย: โอกาสใหม่ในความท้าทาย
บทที่ 1 ลักษณะของระบบบัญชี
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community: AEC)
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน : ก้าวใหม่ที่ท้าทาย หรือ ความฝันที่ไกลเกินจริง
ประเทศไทยได้ประโยชน์และเสียประโยชน์อะไรจาก (AFTA)
ดร.อัศนีย์ รัตนมาลัย โดย อดีต : ผู้อำนวยการสถาบันยุทธศาสตร์การค้า
การเตรียมความพร้อมเพื่อรองรับ AEC มุมมองภาครัฐ ( )
กระแสโลกาภิวัตน์กับบทบาทด้านการคลัง (9-1-55)
ยุทธศาสตร์การนำเข้า การค้าระหว่างประเทศมีมูลค่ากว่าร้อยละ 55 ของ GDP
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
Free Trade Area กลุ่มที่ 8 สำนักบริหาร มาตรฐาน 1.
สัดส่วนของการส่งออก/GDP
Digital Engineering for Product Design, Development & Manufacturing รศ
ความหมาย ปรัชญาและวัตถุประสงค์ ของงานส่งเสริมการประมง
ภาวะเศรษฐกิจการเกษตรของไทย
บริษัท รวมค้าปลีกเข้มแข็งจำกัด Allied Retail Trade Co.,ltd (ART)
Free Trade Area Bilateral Agreement
บรรยายองค์ความรู้เรื่อง AEC สมาคมอาเซียน
ความร่วมมือในการพัฒนาทุนมนุษย์ ในอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง
การขับเคลื่อนภาคการเกษตร สู่ประชาคมอาเซียน
การเตรียมการของประเทศไทยเพื่อรองรับการค้าเสรี
ดร. นิลสุวรรณ ลีลารัศมี
โครงการพัฒนาเขตเศรษฐกิจสามฝ่ายอินโดนีเซีย มาเลเซีย และไทย Indonesia-Malaysia-Thailand Growth Triangle: IMT-GT.
ยุทธศาสตร์ของไทยต่อการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจในระดับภูมิภาคและทวิภาคี
FTA และผลกระทบต่อภาษีสรรพสามิต
อุตสาหกรรมเด่นของไทย มูลค่าส่งออก (ล้านบาท)
กรอบความร่วมมือด้านผลิตภัณฑ์อาหารสำเร็จรูป
กรอบการเจรจาความตกลงด้านมาตรฐาน และการตรวจสอบและรับรอง ภายใต้คณะกรรมการที่ปรึกษาด้านมาตรฐานและคุณภาพของอาเซียน (ASEAN Consultative Committee for Standards.
ปฏิญญาการศึกษา: รากฐานประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
ผลสรุปการแบ่งกลุ่มย่อยประชุมวิชาการเชิงปฏิบัติการ
การบริหารการตลาดโครงการทำการเกษตรตามสัญญา(Contract Farming) กรณีศึกษาด้านประเทศ สปป.ลาว โดย นางปราณี ศิริพันธ์ ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมการค้าชายแดนและมาตรการพิเศษทางการค้า.
1 การเจรจาเพื่อจัดทำ ความตกลงเขต การค้าเสรีอาเซียน - สาธารณรัฐเกาหลี  ความเป็นมาและสถานะ ล่าสุด 
ความตกลงหุ้นส่วนเศรษฐกิจอาเซียน-ญี่ปุ่น
หัวข้อ“ โอกาสของภาคอุตสาหกรรมไทย จาก FTA ไทย-ชิลี”
โดย สมภพ อมาตยกุล 21 กันยายน 2548
ศักยภาพ ผัก ผลไม้ เศรษฐกิจภาคใต้ ปัญหาและอุปสรรคของการผลิต การจำหน่ายทั้งในและส่งออกต่างประเทศ ในมุมมองของภาครัฐ.
AEC กับระบบหลักประกันสุขภาพไทย
ภาวะอุตสาหกรรม เครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์
มูลค่าการส่งออก-นำเข้าสินค้าไฟฟ้าอิเล็กทรอนิกส์ ปี
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ( ASEAN Economic Community: AEC )
การสื่อสารและ โทรคมนาคมของไทยกับ การเปิดเสรี นางสาวชุติมา บุณยประภัศร ที่ปรึกษาการพาณิชย์ กระทรวงพาณิชย์
ความตกลงการค้าเสรีอาเซียน-เกาหลีใต้
การสัมมนา เรื่อง เอฟทีเอ : ไทยได้ประโยชน์แค่ไหน โดย ปลัดกระทรวงพาณิชย์ (นายการุณ กิตติสถาพร) ณ ห้องจามจุรี โรงแรมปทุมวันพริ้นซ์เซส วันพุธที่ 25 สิงหาคม.
การลดภาษีของออสเตรเลีย
ไทยได้ประโยชน์อะไร จากการเปิดเสรีอาเซียน-จีน
ดร. กุลยา ตันติเตมิท สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง 29 กรกฎาคม 2547
แนวทาง การเจาะตลาดอินเดีย
FTA : ลู่ทางการส่งออกไป ออสเตรเลีย จีน อินเดีย
ความตกลงการค้าเสรีไทย-ออสเตรเลีย
น.สพ.ไพรัช ธิติศักดิ์ 27 มกราคม 2553
สมาคมผู้เพาะเลี้ยงปลาไทย
สถาบันวิจัยนโยบายเศรษฐกิจการคลัง กุมภาพันธ์ 2549
เคลื่อนทัพส่งออก : มุมมองใหม่ โดย ดร. ณรงค์ชัย อัครเศรณี
1 วิจารณ์ผลการศึกษา โครงการศึกษาผลกระทบ จากการเปิดเสรีทางการค้า เพื่อเสนอแนะมาตรการ ช่วยเหลือผู้ได้รับผลกระทบ รศ. ดร. ชยันต์ ตันติวัสดาการ คณะเศรษฐศาสตร์
ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์ สถาบันวิจัยนโยบายเศรษฐกิจการคลัง
ผลการสำรวจความคิดเห็นของนัก ธุรกิจอินเดียที่มีต่อการค้าการลงทุน กับไทย สถาบันวิจัยนโยบาย เศรษฐกิจการคลัง พฤษภาคม
บทที่ 8 นโยบายการค้าระหว่างประเทศ
“AEC : อนาคต พืช ผัก ผลไม้ไทย”
เดือนเด่น นิคมบริรักษ์ สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
ชี้แจงแนวทาง การช่วยเหลือเกษตรกรผู้ปลูกข้าว ในฤดูการผลิต ปี 2557/58
นายพนาสิน หอมจิตต์ ชั้น ปวช 1 เลขที่ 11 กลุ่ม 1 แผนกคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
ความร่วมมือไทย-ลาว ในเรื่อง Contract Farming (CF)
ค่าใช้จ่ายสำรองเพื่อ กระตุ้นเศรษฐกิจ งบกลาง 58,000 ล้านบาท.
ถอดบทเรียน ยุทธศาสตร์การค้าอาเซียน
ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ส 41102
กฎบัตรอาเซียน และ อาเซียนบลูปรินส์
เรื่องที่นักส่งเสริมการเกษตรควรรู้
เศรษฐกิจพอเพียง นางสาวสุนิสา จันทร์ตะบูน ชั้น ปวช 1 เลขที่ 20 กลุ่ม 2
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เขตการค้าเสรี ไทย-อินเดีย India-Thailand Free Trade Area

ความเป็นมา ในปี 2001 ไทย-อินเดีย ได้จัดตั้ง คณะศึกษาความเป็นไปได้ในการจัดทำเขตการค้าเสรี ผลการศึกษาปรากฏว่า การจัดทำ FTA จะนำมาซึ่งประโยชน์ต่อทั้งสองฝ่าย ในแง่ความสัมพันธ์ทางการค้าและการลงทุน ในปี 2002 ได้จัดตั้งคณะเจรจาจัดทำกรอบความตกลงเขตการค้าเสรี ในปี 2003 ได้มีการลงนามกรอบฯ โดยรัฐมนตรีการค้าของทั้ง สองฝ่าย

วัตถุประสงค์ เพื่อส่งเสริมและขยายความร่วมมือทางเศรษฐกิจ เพื่อเปิดเสรีและลดอุปสรรคทางการค้า เพื่ออำนวยความสะดวกในการเคลื่อนย้ายการค้าสินค้าและการค้าบริการ เพื่อส่งเสริมความร่วมมือทางเศรษฐกิจในสาขาใหม่ๆ

ประโยชน์ที่จะได้รับ การเข้าสู่ตลาดที่มากขึ้นของทั้งสองฝ่าย (better market access) สร้างโอกาสใหม่ๆ ทางการค้าและการลงทุน สร้างแนวทางความร่วมมือทางเศรษฐกิจร่วมกัน ระหว่าง ไทย-อินเดีย เป็นสะพานเชื่อมโยงระหว่างเอเซียใต้และเอเซียตะวันออกเฉียงใต้

สาระสำคัญของเขตการค้าเสรี ไทย-อินเดีย มีขอบเขตครอบคลุมในทุกเรื่อง คือ การค้าสินค้า การค้าบริการ การลงทุน และความร่วมมือทางเศรษฐกิจในสาขาต่างๆ จะยกเลิกมาตรการภาษีและมิใช่ภาษีในปี 2010 จะเปิดเสรีการค้าบริการ ให้ได้สาขามากที่สุด และกำลังตกลงในเรื่องระยะเวลาในการเปิดเสรีกันอยู่

ลักษณะของเขตการค้าเสรี ไทย-อินเดีย (ต่อ) ลักษณะของเขตการค้าเสรี ไทย-อินเดีย (ต่อ) ส่งเสริมและสนับสนุนความร่วมมือในการลงทุนระหว่างกัน ร่วมกันสนับสนุนความร่วมมือทางเศรษฐกิจที่จะนำประโยชน์มา สู่ทั้งสองฝ่าย เช่น การประมง/เลี้ยงสัตว์น้ำ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เทคโนโลยีชีวะภาพ การท่องเที่ยว และการดูแล สุขภาพ เป็นต้น สนับสนุนการอำนวยความสะดวกด้านการค้าและการลงทุน เช่นในเรื่องของกระบวนการศุลกากร ความตกลงการยอมรับร่วม เป็นต้น

สินค้าเร่งลดภาษี (Early Harvest Scheme) ครอบคลุมสินค้า 82 รายการ ได้แก่ เงาะ มังคุด ลำไย องุ่น แอปเปิ้ล ข้าวสาลี อาหารทะเลแปรรูป เม็ดพลาสติก ชิ้นส่วนยานยนต์ ฯลฯ ตารางการลดภาษีสินค้า จะใช้วันที่ 1 มค. 2004 เป็นปีฐาน - 1 กย. 04-31 สค. 05 50% - 1 กย. 05-31 สค. 06 75% - 1 กย. 06 เป็นต้นไป 100%

สินค้าเร่งลดภาษี (ต่อ) ใช้กฎว่าด้วยแหล่งกำเนิดสินค้า (ชั่วคราว) กับสินค้ากลุ่มนี้ สินค้าที่จะได้รับสิทธิการลดภาษีจะต้องระบุแหล่งกำเนิดสินค้าจากประเทศไทยหรืออินเดีย สินค้าที่จะได้รับสิทธิพิเศษภายใต้ FTA จะต้อง - ใช้วัตถุดิบที่ผลิตภายในประเทศทั้งหมด (wholly obtained) - สินค้าที่ผลิตในไทยหรืออินเดีย โดยมีการนำเข้าวัตถุดิบจากแหล่งอื่นไม่เกินกว่าที่กำหนดไว้

สินค้าเร่งลดภาษี (ต่อ) สินค้าที่มีวัตถุดิบจากต่างประเทศ (นอกจาก ไทยและอินเดีย) จะต้องมีกระบวนการผลิตเพิ่มและมีการเปลี่ยนแปลงพิกัดอัตราศุลกากรในระดับที่กำหนดไว้ (changing in tariff classification) สินค้าที่มีวัตถุดิบจากต่างประเทศ (นอกจาก ไทยและอินเดีย) จะต้องมีสัดส่วนมูลค่าเพิ่มของวัตถุดิบในประเทศตามที่กำหนด (local value added content)

มูลค่าการค้าของทั้งสองฝ่าย

มูลค่าการค้าสินค้า Early Harvest Scheme

มูลค่าการค้าสินค้า Early Harvest Scheme มูลค่าการค้ารวมในปี 2545 86.5 ล้านเหรียญสหรัฐฯ (คิดเป็น 7.2% ของมูลค่าการค้ารวม ไทย-อินเดีย) มูลค่าส่งออก 47.8 ล้านเหรียญสหรัฐฯ (พลาสติก เครื่องปรับอากาศ รถยนต์และส่วนประกอบ เครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์) มูลค่านำเข้า 37.8 ล้านเหรียญสหรัฐฯ (เหล็กและเหล็กกล้า อะลูมิเนียม เคมีภัณฑ์ และเครื่องจักร)

มูลค่าการค้าสินค้าเร่งลดภาษี (ต่อ) ในปี 2003 สินค้ากลุ่มนี้มีปริมาณการค้าเพิ่มขึ้น 60.5% ไทยนำเข้าสินค้ากลุ่มนี้จากอินเดียเพิ่มขึ้น 91.5% ซึ่งอินเดียมีส่วนแบ่งตลาดในไทยเท่ากับ 1.1% ไทยส่งออกสินค้ากลุ่มนี้ไปอินเดียเพิ่มขึ้น 36.4%

สถานะการเจรจาในปัจจุบัน การเปิดเสรีการค้าสินค้า (Trade in Goods) ครอบคลุมหัวข้อสำคัญ สินค้าที่จะนำมาลดภาษี (Normal / Sensitive Track) รูปแบบการลดภาษี กฎว่าด้วยแหล่งกำเนิดสินค้า มาตรการทางการค้าที่มิใช่ภาษี และมาตรการปกป้อง พิธีการศุลกากร การระงับข้อพิพาททางการค้า

สถานการณ์เจรจาในปัจจุบัน (ต่อ) การค้าบริการและการลงทุน ใช้กรอบการเจรจาการค้าบริการภายใต้ WTO เป็นพื้นฐาน ให้มีการเจรจาเปิดเสรีรายสาขา โดยใช้วิธีการแลกเปลี่ยน request / offer

สถานการณ์เจรจาในปัจจุบัน (ต่อ) ความร่วมมือทางเศรษฐกิจในสาขาต่างๆ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร การท่องเที่ยว การศึกษา

ผลสืบเนื่องจาก FTA ขยายโอกาสทางการค้าและการลงทุนให้กว้างขึ้น การเข้าสู่ตลาด เสริมสร้างความแข็งแกร่งให้กับระบบเศรษฐกิจ เพิ่มศักยภาพในการผลิตและการแข่งขัน

ธวัชชัย โสภาเสถียรพงศ์ ผู้ตรวจราชการกระทรวงพาณิชย์ ขอบคุณครับ ธวัชชัย โสภาเสถียรพงศ์ ผู้ตรวจราชการกระทรวงพาณิชย์