แนวทางการดำเนินงานสุขภาพจิต ของโรงพยาบาลชุมชน ในปีงบประมาณ 2553

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
นโยบายการให้บริการวัคซีนป้องกันโรค ไข้หวัดใหญ่ ประจำปี 2557
Advertisements

สกาวรัตน์ พวงลัดดา สำนักงานเลขานุการคณะกรรมการสุขภาพจิตแห่งชาติ
การอบรม อสม. รุ่น 2 เป้าหมาย อสม.รุ่น 1 - อสมช. ด้านโรคความดันโลหิตสูง
กายภาพบำบัด ใน โรงพยาบาลสร้างเสริมสุขภาพตำบล
การพัฒนาเครือข่ายภาคประชาชนในการ จัดระบบเฝ้าระวังโรคไข้หวัดใหญ่ 2009 ภาคกลาง วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้เครือข่ายภาคประชาชน มีความรู้ความ เข้าใจที่ถูกต้อง.
ภาพรวมการจัดสรรงบประมาณในแต่ละโครงการของศูนย์ สช. ภาคกลาง ปี 2555
องค์ประกอบ/กระบวนงานด้านการคุ้มครองเด็ก ในระดับจังหวัดสมุทรสาคร
การบริหารงบบริการสร้างเสริมสุขภาพและ ป้องกันโรคทั่วไป (ยกเว้นค่าบริการทันตกรรมส่งเสริมป้องกัน)
ผลการพัฒนาระบบการคัดกรองภาวะแทรกซ้อนทางไตในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
แนวคิด การดำเนินงาน โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
นโยบายการดำเนินงานโรคเรื้อรัง ตัวชี้วัด: จังหวัดมีการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคเรื้อรัง (สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย) ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน โดย รัตนาภรณ์ ฮิมหมั่นงาน.
ความคาดหวังหลังการประชุมฯ ครั้งนี้
นพ.ก้องภพ สีละพัฒน์ ผู้นิเทศงานปฐมภูมิ
ยุทธศาสตร์ กรมสุขภาพจิต
การบริการวิกฤตสุขภาพจิตและการปฏิบัติงานทีม MCATTและบทบาทหน้าที่
โครงการพัฒนาการบริการเด็กที่มีปัญหาพัฒนาการและออทิสติก
ชุมชนคลองตาแป้น ศูนย์บริการสาธารณสุข 62 ตวงรัชฏ์ ศศะนาวิน ภักดี ฐานปัญญา
โรงพยาบาลสวนสราญรมย์
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
แนวทางการดำเนินงานและการสนับสนุนส่วนภูมิภาค ประจำปี 2550 แนวทางการดำเนินงานและการสนับสนุนส่วนภูมิภาค กรมการแพทย์
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
เขต 15 เขต 15: เชียงใหม่ ลำพูน ลำปาง แม่ฮ่องสอน.
นายแพทย์ไพจิตร์ วราชิต รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
ภารกิจ อสม.งานประจำ/งานนโยบาย
สำนักประสานการพัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
แผนส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค กลุ่มวัยผู้สูงอายุ 2557
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
ตัวชี้วัดที่ 3 ระดับความสำเร็จในการพัฒนาบริการผู้ป่วยโรคจิตให้เข้าถึงบริการเพิ่มขึ้นในพื้นที่ เป้าหมาย จำนวนผู้ป่วยโรคจิตที่เข้าถึงบริการเพิ่มขึ้นร้อยละ.
การขับเคลื่อนการดำเนินงานสุขภาพจิตชุมชน
การติดตามประเมินผล โครงการให้วัคซีนป้องกัน โรคไข้หวัดใหญ่
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
วัตถุประสงค์ การส่งสริมสุขภาพป้องกัน และเฝ้าระวังโรค
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
คลินิกผู้สูงอายุต้นแบบ (Geriatric Clinic Model) โรงพยาบาลอุดรธานี
คู่มือการดูแลทางจิตเวช เพื่อป้องกันปัญหาการฆ่าตัวตาย
นโยบายด้านบริหาร.
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
แนวทางการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมกรณีอุทกภัย
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
โรงพยาบาลจิตเวชขอนแก่นราชนครินทร์
*ppt.2 ระบบดูแลเฝ้าระวังโรคซึมเศร้า การอบรมการดูแลเฝ้าระวังโรคซึมเศร้า สำหรับผู้ปฏิบัติในพื้นที่ สนับสนุนโดย กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข.
โดย นายแพทย์เกียรติภูมิ วงศ์รจิต รองอธิบดีกรมสุขภาพจิต
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
แนวทางการดำเนินงานผู้สูงอายุจังหวัดเชียงใหม่ ปี 2556
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE การบริหารงบกองทุนฯ ปีงบประมาณ 2555 งบสนับสนุนส่งเสริมการจัดบริการ สำหรับผู้ป่วยจิตเวช.
การประชุมเชิงปฏิบัติการ “ความสุขคนไทย” ระหว่างวันที่ กันยายน 2554.
การดำเนินงาน OSCC ศูนย์ช่วยเหลือสังคม
องค์ประกอบและระยะเวลาที่ เปลี่ยนแปลง  จากมีวาระ 2 ปี เป็น 4 ปี  เพิ่ม ผู้แทนหน่วยรับเรื่องร้องเรียน อิสระ หรือศูนย์ประสานงานภาค ประชาชน หรือองค์กรเอกชนด้าน.
การชี้แจงตัวชี้วัด ตัวชี้วัดที่ 12 ยุทธศาสตร์ที่ 2 ด้านคุณภาพบริการ ร้อยละของอาเภอที่มีทีม miniMERT, MCATT, SRRT คุณภาพ ธีราภา ธานี พยาบาลวิชาชีพชำนาญ.
วิสัยทั ศน์ เป็นองค์กรที่เป็นเลิศด้าน การแก้ไขปัญหาสุขภาพจิตจาก แอลกอฮอล์ของประเทศและ พัฒนาระบบบริการสุขภาพจิต และจิตเวชในเครือข่ายบริการ สุขภาพจิตที่
การพัฒนางานวิกฤตสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2558
สรุปโครงการอบรมพัฒนาศักยภาพ อสม.ปี 2550
นิยาม ศูนย์ให้คำปรึกษาคุณภาพ (Psychosocial Clinic) หน่วยบริการระดับโรงพยาบาลชุมชนที่มีการจัดบริการดูแล ช่วยเหลือทางสังคมจิตใจทุกกลุ่มวัย โดยมีองค์ประกอบ.
การดำเนินงานสุขภาพจิตเครือข่าย ในเขตสุขภาพที่10 ปีงบประมาณ 2558
การปฏิบัติตามนโยบาย ปลัดกระทรวงสาธารณสุข
การพัฒนางานสุขภาพจิต วัยทำงาน - สูงอายุ
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
แนวทางการบูรณาการ โครงการพัฒนาสุขภาพจิตใน เขต 11 และ 13 ประจำปีงบประมาณ
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
มาตรการป้องกันควบคุม โรคติดต่อในช่วงฤดูฝน - ให้คปสอ. ทุกแห่งเร่งรัดดำเนินการดังนี้ ๑. การป้องกัน (Protection) ๑. ๑ สนับสนุนการฝึกอบรมแก่บุคลากรทางการแพทย์ด้านการ.
แนวทางการดำเนินงานสุขภาพจิต กลุ่มวัยทำงาน
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
การพัฒนาการดำเนินงาน Service Plan เขตบริการสุขภาพที่ 1 สาขาตา
นำเสนอโดย นพ.ณรงค์ สายวงศ์ รองอธิบดีกรมอนามัย
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
ทิศทางการพัฒนางานสุขศึกษาและพฤติกรรมสุขภาพ
และการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ ประจำปี ๒๕๕๕ สาธารณสุขอำเภอป่าติ้ว
โรคติดต่อระหว่างสัตว์และคน
แผนภูมิแสดงความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณ แผนงาน เป้าหมายการให้บริการกระทรวง เป้าหมายการให้บริการหน่วยงาน ผลผลิต/โครงการและงบประมาณปี 2554 กรมควบคุมโรค.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แนวทางการดำเนินงานสุขภาพจิต ของโรงพยาบาลชุมชน ในปีงบประมาณ 2553 แนวทางการดำเนินงานสุขภาพจิต ของโรงพยาบาลชุมชน ในปีงบประมาณ 2553 โดย...... รองอธิบดีกรมสุขภาพจิต ( นายแพทย์วชิระ เพ็งจันทร์ )

1.แนวโน้มปัญหาสุขภาพจิต Trend of Mental Health Problem

1.แนวโน้มปัญหาสุขภาพจิต(ต่อ) Trend of Mental Health Problem โรคทางจิต เป็นสาเหตุการตาย เพียง 1+ % Mortality Rate โรคทางจิต เป็นภาระสูญเสีย จากการเจ็บป่วยทั้งหมด11 % Barden of Diseases

Global Burden of Disease (GBD): ภาระโรค Global Burden of Disease analysis provides a comprehensive and comparable assessment of mortality and loss of health due to diseases, injuries and risk factors for all regions of the world

การจัดอันดับความสูญเสียปีสุขภาวะ (Disability Adjusted Life Year : DALY) ของประชากรไทย ปี พ.ศ. 2547

ระบาดวิทยาสุขภาพจิต ปี 2546 Mental Disorders Prevalence 2003 Alcohol dependence 4.71 0.32 Alcohol abuse 7.51 0.66

2.การดำเนินงานสุขภาพจิตที่สำคัญในระดับพื้นที่ ปีงบประมาณ 2553 ประกอบด้วย โครงการแนวทางการพัฒนาคุณภาพระบบบริการสุขภาพจิตและจิตเวช สำหรับรพศ. /รพท. /รพช. /PCU โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคซึมเศร้า โครงการเฝ้าระวังและช่วยเหลือผู้ที่เสี่ยงต่อการฆ่าตัวตาย โครงการแก้ไขปัญหาวิกฤตสุขภาพจิตในพื้นที่จังหวัดชายแดนใต้ โครงการพัฒนากฎหมายสุขภาพจิตระยะต่อเนื่อง

การดำเนินงานที่สำคัญ 1.โครงการแนวทางการพัฒนาคุณภาพระบบบริการสุขภาพจิตและจิตเวชสำหรับรพศ. /รพท. /รพช. /PCU การดำเนินงานที่สำคัญ อบรมแนวทางการพัฒนาคุณภาพระบบบริการสุขภาพจิตและจิตเวช สำหรับ รพศ. รพท. รพช. PCU 25 จังหวัดใหม่ ( อ่างทอง พระนครศรีอยุธยา สุรินทร์ สตูล นราธิวาส พังงา กระบี่ ยโสธร มุกดาหาร หนองคาย ร้อยเอ็ด เลย สมุทรปราการ ชลบุรี กทม. กำแพงเพชร พิจิตร ปราจีนบุรี สุพรรณบุรี กาญจนบุรี นครปฐม แพร่ พะเยา เชียงราย พิษณุโลก ) สนับสนุนการฝึกอบรม และถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านบริการสุขภาพจิต และจิตเวช แก่ รพศ. รพท. รพช. PCU 36 จังหวัดเดิม

2.โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคซึมเศร้า การดำเนินงานที่สำคัญ อบรมพัฒนาศักยภาพของบุคลากรผู้ปฏิบัติ (แพทย์ /พยาบาล ) ในการดูแล เฝ้าระวังโรคซึมเศร้า( ในพื้นที่ที่มีการเปลี่ยนโยกย้ายบุคลากรที่รับผิดชอบ ) การดูแลเฝ้าระวังโรคซึมเศร้าในผู้สูงอายุที่มีโรคเรื้อรังทางกาย 5 โรค (มะเร็ง เบาหวาน หัวใจ หลอดเลือดในสมอง ไตวายเรื้อรัง ) จำนวน 148,000 คน (งบ P&P Expressed Demand Service ปีงบประมาณ 2553 )

การดูแลเฝ้าระวังโรคซึมเศร้ากับการจ่ายชดเชยค่าบริการ หน่วยบริการดำเนินการในกลุ่มเป้าหมาย กรมสุขภาพจิตตรวจสอบ คัดกรอง ประเมิน ส่งแบบรายงานผลการดูแลเฝ้าระวังโรคซึมเศร้า บันทึกข้อมูลการให้บริการลงในโปรแกรมระบบดูแลเฝ้าระวังโรคซึมเศร้าของ กรมสุขภาพจิต 2Q 9Q,8Q สปสช.จ่ายค่าชดเชย 300 บาท/ราย แจ้งผลและให้สุขภาพจิตศึกษา ปรับเปลี่ยนความคิดและพฤติกรรม ให้การช่วยเหลือตามความรุนแรง ส่งต่อสู่ระบบการดูแลรักษา งวดที่ 1 จ่าย 200 บาท เมื่อประเมินด้วย 9Q≥7, ให้สุขภาพจิตปรับเปลี่ยนฯ งวดที่ 2 จ่าย 100 บาท เมื่อติดตามประเมินด้วย 9Q ≥4 ครั้ง

4.โครงการแก้ไขปัญหาวิกฤตสุขภาพจิตในพื้นที่จังหวัดชายแดนใต้ 3.โครงการเฝ้าระวังและช่วยเหลือผู้ที่เสี่ยงต่อการฆ่าตัวตาย การดำเนินงานที่สำคัญ ประชุมวิชาการเครือข่ายผู้ปฏิบัติป้องกันแก้ไขปัญหาการฆ่าตัวตาย 76 จังหวัด 4.โครงการแก้ไขปัญหาวิกฤตสุขภาพจิตในพื้นที่จังหวัดชายแดนใต้ การดำเนินงานที่สำคัญ พัฒนาศักยภาพนักจิตวิทยาในศูนย์ฟื้นฟูเยียวยา / บุคลากรสาธารณสุข ของสถานบริการสาธารณสุขใน 4 จังหวัดชายแดนใต้ (สงขลา ปัตตานี ยะลา นราธิวาส ) ในหลักสูตรต่างๆ เช่นการดูแลผู้ป่วยเด็กที่ได้รับผลกระทบ การเสริมสร้างพลังใจแก่สตรีผู้สูญเสีย การบำบัดความคิดและพฤติกรรม ฯลฯ

5.โครงการพัฒนากฎหมายสุขภาพจิตระยะต่อเนื่อง การดำเนินงานที่สำคัญ เผยแพร่ความรู้กฎหมายสุขภาพจิต ให้บุคลากรที่เกี่ยวข้องทั้งในระบบบริการ (รพศ. รพท. รพช. ) และนอกระบบบริการ มีความรู้ ความเข้าใจ สามารถปฏิบัติตามระเบียบ และประกาศที่บัญญัติไว้ในพรบ.สุขภาพจิต ได้อย่างถูกต้อง

3.การดำเนินงานต่อไปในอนาคต กรมสุขภาพจิต ร่วมกับ สปสช. ราชวิทยาลัยจิตแพทย์แห่งประเทศไทย สมาคมจิตแพทย์แห่งประเทศไทย และผู้แทนจากสมาคมผู้บกพร่อง ทางจิต อยู่ระหว่างดำเนินการผลักดันการใช้ยาจิตเวชที่จำเป็นสำหรับ ผู้ป่วยโรคจิต และผู้ป่วยซึมเศร้า (Risperidone และ Sertraline) เข้าไปอยู่ในบัญชียาหลักแห่งชาติ เพื่อให้ผู้ป่วยจิตเวชสามารถเข้าถึงยา ที่จำเป็นและมีคุณภาพได้ ทั้งนี้ สปสช.จะจัดงบประมาณเพิ่มเติมให้ ปีละ 50 ล้านบาท โดย สปสช. จะดำเนินการประสานการจัดซื้อยารวม และ มอบการดำเนินการให้กรมสุขภาพจิตรับผิดชอบการติดตามการใช้ยา และกระจายยาให้แก่หน่วยบริการผ่านระบบ VMI

ความสุขที่ยั่งยืนของคนไทย ประชาชนมีสุขภาพจิตที่ดี มีความรู้ความเข้าใจด้านสุขภาพจิต มีทัศนคติที่ดี สามารถดูแลและจัดการกับปัญหาสุขภาพจิต อยู่ร่วมกันในสังคมได้