กรณีความเสี่ยง DMSc.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การประเมินผลสถานศึกษา
Advertisements

ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
เรื่องสืบเนื่อง การวางแผนและบริหารโครงการสำหรับส่วน ราชการ
ที่มาของระบบควบคุมภายใน
สัปดาห์ที่ 2 เรื่อง โครงการสุขศึกษา
ทิศทางการพัฒนา “อำเภอป้องกัน ควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน”
ประเด็นยุทธศาสตร์ พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ปี
การเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นและร่วมติดตาม ตรวจสอบผลการปฏิบัติราชการ วันที่ 29 มกราคม 2551.
โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การจัดทำแผนการพัฒนาและการปฏิบัติการ ของโครงการโดยเจ้าหน้าที่โครงการมีส่วนร่วม ปี พ.ศ.2552.
การจัดการความรู้ (Knowledge Management)
วิสัยทัศน์กรมส่งเสริมสหกรณ์ (Vision) ปี
การประเมินคุณภาพภายในกอง แผนงาน ประจำปีการศึกษา 2551 วันที่ 20 กรกฎาคม 2552 โดย คณะกรรมการประเมินคุณภาพภายใน.
พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการ
แผนที่ยุทธศาสตร์สำนักพัฒนาโครงสร้างและระบบบริหารงานบุคคล
คำอธิบายแนวทางการให้คะแนน เอกสาร/หลักฐานการดำเนินงาน
การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
กลุ่มโภชนาการประยุกต์
โครงการริเริ่มสร้างสรรค์ ปี พ.ศ.2557 สำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอร้องกวาง
ยุทธศาสตร์ที่ 2 การพัฒนาคนและสังคมที่มีคุณภาพ โครงการ การบริหารงบประมาณตามแผนปฏิบัติการ วัตถุประสงค์ เพื่อให้หน่วยงานทุกหน่วยงานใช้เงินงบประมาณ ทันเวลา.
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงเพื่อสร้างความโปร่งใส ในกระบวนงานกระบวนการพัฒนาและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิเยาวชน (การเสริมสร้างความเข้มแข็งสภาเด็กและเยาวชน) ของสำนักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก.
การบริหารความเสี่ยง ประเภทความเสี่ยง ความเสี่ยง (RISK)
นโยบายการดำเนินงานโรคเรื้อรัง ตัวชี้วัด: จังหวัดมีการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคเรื้อรัง (สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย) ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน โดย รัตนาภรณ์ ฮิมหมั่นงาน.
เอกสารประกอบการประชุมผู้บริหารกรมควบคุมโรค
กลุ่มตรวจสอบ ติดตาม ด้านยา วัตถุเสพติด และ เครื่องมือแพทย์ ( ตส.1 ) สำนักงานคณะกรรมการ อาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข.
การดำเนินงานเพื่อจัดทำเครือข่าย เฝ้าระวังความไม่ปลอดภัยด้านอาหาร ของ โดย สุรีย์ วงค์ปิยชน 19 มีนาคม 50 กรมอนามัย.
องค์กรนำการปศุสัตว์ไทย
การบริหารความเสี่ยง (Risk Management)
Blueprint for Change ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลง (Blueprint for Change) คืออะไร ? เทคนิคการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารราชการให้เกิดความพร้อมในการสนับสนุนและผลักดันให้ยุทธศาสตร์ของส่วนราชการเกิดผลทางปฏิบัติ
แผนปฏิบัติราชการ พ.ศ ของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
จังหวัดนครปฐม.
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
ทิศทางการบริหารงบประมาณ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
การบริหารเชิงยุทธศาสตร์
การสร้างความเข้มแข็งของ ระบบสนับสนุนยุทธศาสตร์. ความจริงที่เป็นอยู่ ( มายาวนาน )
Blueprint for Change ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลง (Blueprint for Change) คืออะไร ? เทคนิคการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารราชการให้เกิดความพร้อมในการสนับสนุนและผลักดันให้ยุทธศาสตร์ของส่วนราชการเกิดผลทางปฏิบัติ
แผนการดำเนินการ ระยะที่ 2 มิ.ย. 48ก.ค. 48ส.ค. 48ก.ย มี.ค คกก.GG 27 คทง. Blueprint คทง.จัดทำ ข้อมูล 14 Work shop II ส่ง ข้อเสนอ การ เปลี่ยนแป.
ประชุมเจรจาข้อตกลงการปฏิบัติงาน ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ของหน่วยงานภายใน กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ ประจำปีงบประมาณ พ. ศ วันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2555.
“การถ่ายทอดตัวชี้วัด จากระดับองค์กรลงสู่ระดับบุคคล”
วัตถุประสงค์ และผลผลิตหลักโครงการ
ประเด็นการตรวจราชการ กฎหมายและการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ
“การพัฒนาสำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด สู่การเป็นองค์กรสมรรถนะสูง”
เครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภคสาธารณสุขเขต 10 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
คบส Powerpoint by Mr.Prachasan Saenpakdee M.P.H.
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
งาน 1 : สรุป และนำเสนอ. 1. สถานการณ์ ที่มาและความสำคัญ. 2
แนวทางการดำเนินงานเกษตรกรปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข
แนวทางการจัดทำ SAR การเตรียมข้อมูล รูปแบบรายงาน การนำเสนอ.
"เป็นหน่วยงานหลักในการประสาน และผลักดันยุทธศาสตร์กระทรวง
Paradigm Workshop by Dr. Prapon Phasukyud
โดย นายแพทย์วุฒิไกร มุ่งหมาย นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดอุบลราชธานี
วิธีการเขียนรายงานการประเมิน
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
ความคาดหวังของเขตสุขภาพต่อการดำเนินงานสุขภาพจิตในพื้นที่
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
การแปลงนโยบายและแผน นำสู่การปฏิบัติ
เป็นผู้นำด้านวิชาการ และเทคโนโลยีการ ป้องกันและควบคุมโรค ระดับจังหวัดและเขต.
วัตถุประสงค์ของ หน่วยงาน 1. ถ่ายทอดองค์ความรู้ และ แนวทางการดำเนินการ ป้องกัน ควบคุมโรค งานอนามัย สิ่งแวดล้อม และงาน อา ชีวอนามัย ที่ได้มาตรฐาน 2. ดำเนินการป้องกันควบคุมโรค.
ตัวอย่างกิจกรรมภายใต้บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
"วาริชภูมิน่าอยู่ ผู้คนสุขภาพดี ภาคี เข้มแข็ง"
กลุ่มที่ 2 กลุ่มพัฒนาภาคีเครือข่าย สคร.1-12
1 การประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การติดตาม ประเมินผล กรมควบคุม โรค ปี 2553 วันที่ 2 มีนาคม 2553 เวลา – น. ณ ศูนย์ปฏิบัติการกรมควบคุมโรค อาคาร.
แผนที่ยุทธศาสตร์กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ
ระบบข้อมูลสารสนเทศ 4.2 กระบวนงานพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
แนวทางการดำเนินงานสาธารณสุขที่สำคัญ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
แผนภูมิแสดงความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณ แผนงาน เป้าหมายการให้บริการกระทรวง เป้าหมายการให้บริการหน่วยงาน ผลผลิต/โครงการและงบประมาณปี 2554 กรมควบคุมโรค.
“ทิศทางการบริหารจัดการเชิงยุทธศาสตร์ กรมควบคุมโรค
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กรณีความเสี่ยง DMSc

เกณฑ์การให้คะแนนบริหารความเสี่ยงของ กพร. 2 เกณฑ์การให้คะแนนบริหารความเสี่ยงของ กพร. ขั้นตอนที่ 1 มี คณก. บริหารความเสี่ยง ขั้นตอนที่ 2 วิเคราะห์ ระบุ และจัดลำดับความสำคัญของปัจจัยเสี่ยง ขั้นตอนที่ 3 จัดทำแผนบริหารความเสี่ยงประจำปี 2552 ส่ง ก.พ.ร. ภายใน 31 มี.ค. 2252 ขั้นตอนที่ 4 ดำเนินการตามแผน ฯ ให้แล้วเสร็จครบถ้วน ขั้นตอนที่ 5 สรุปผลการดำเนินการตามแผน ฯ และมีข้อเสนอแนะสำหรับ แผน ฯ ปีต่อไป

แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี (2551-2554) DMSc วิสัยทัศน์ “องค์กรหลักของประเทศในการเป็นห้องปฏิบัติการอ้างอิงและประกันคุณภาพห้องปฏิบัติการด้านการแพทย์และสาธารณสุข รวมทั้งการวิจัยและพัฒนาเพื่อนำไปสู่การพัฒนาคุณภาพผลิตภัณฑ์และการบริการสุขภาพตลอดจนสนับสนุนระบบเตือนภัยทางสุขภาพ ”

แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี (2551-2554) DMSc วิสัยทัศน์ (ใหม่) “กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์เป็นผู้นำด้าน วิทยาศาสตร์การแพทย์”

แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี (2551-2554) DMSc พันธกิจ 1. ศึกษา วิจัย พัฒนา เพื่อให้ได้องค์ความรู้และเทคโนโลยีด้านวิทยาศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุข นำไปใช้และสนับสนุนการวินิจฉัย รักษา ควบคุมป้องกันโรค การตรวจสอบคุณภาพความปลอดภัยของผลิตภัณฑ์และการบริการสุขภาพ 2. พัฒนาศักยภาพห้องปฏิบัติการอ้างอิงและรับรองคุณภาพปฏิบัติการด้านการแพทย์และสาธารณสุข 3. ตรวจวิเคราะห์และเฝ้าระวังเพื่อประเมินความเสี่ยงเตือนภัยสุขภาพ และแก้ไขปัญหายาเสพติด

แนวทางการระบุความเสี่ยงของ DMSc อะไรคืองานหลัก (Core Business) ของ DMSC? DMSC เป็นหน่วยงานของรัฐ ที่ไม่มีรายได้ Outputs และ Outcomes ของ DMSC คืออะไร?? ในการผลิต Outputs แต่ละอย่าง DMSC มีกระบวนการดำเนินงานอย่างไร? แต่ละขั้นตอนของกระบวนงานของ DMSC. มีเหตุการณ์ใดบ้างที่อาจเกิดขึ้น และทำให้ DMSC. ไม่สามารถดำเนินงานต่อไปได้ หรือดำเนินงานได้แต่ทำให้ผลงานไม่มีผลสัมฤทธิ์เท่าที่ควร (DMSC. ตั้งสมมุติฐานใดบ้างในการดำเนินงาน สมมุติฐาน= ความเสี่ยง)

6 DMSc. มีภารกิจการให้ต่อสังคม 3 ประการ 1. ค้นคว้าวิจัยเพื่อสนับสนุนการแก้ไขปัญหาสาธารณสุขของประเทศ 2. ให้บริการทางวิทยาศาตร์การแพทย์และสาธารณสุข เช่น ให้การรับรอง ห้อง lab. พัฒนาห้อง lab. ด้านการแพทย์และสารณสุขของรัฐและเอกชน รวมทั้ง ตรวจวิเคราะห์ผลิตภัณฑ์สุขภาพเพื่อการคุ้มครองผู้บริโภค 3. ให้องค์ความรู้ และความรู้ความเข้าใจทางด้านการแพทย์และสาธารณสุขแก่ ประชาชน

Research leads to the summit of knowledge. 6 Research leads to the summit of knowledge. (การวิจัยนำมาถึงยอดแห่งความรู้) Impact พัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม Input เงินทุน ข้อมูลสารสนเทศ นักวิจัย องค์ความรู้ เครื่องมือการวิจัย สิ่งอำนวยความ สะดวกอื่นๆ กระบวนการสร้าง องค์ความรู้ของ ของประเทศ Output องค์ความรู้ จากการวิจัย

เทคนิคการค้นหา (Searching) และคัดชี้ (Identifying) ความเสี่ยง 6 เทคนิคการค้นหา (Searching) และคัดชี้ (Identifying) ความเสี่ยง กำหนดตามวัตถุประสงค์ขององค์กรและหน้าที่การงานที่ทำ เช่น ● การดำเนินการวิจัยและพัฒนา .... เช่น เกิดความเสี่ยงเรื่องผลงานวิจัยไม่ตอบสนองต่อการแก้ปัญหาและความต้องการ ● การให้บริการให้การรับรองห้อง lab. พัฒนาห้อง lab. ด้านการแพทย์และสารณสุขแก่หน่วยงานรัฐและเอกชน.... เช่น เกิดความเสี่ยงในเรื่องความล่าช้าของงานให้บริการ เกิดความเสี่ยงในเรื่องคุณภาพการให้บริการ

เทคนิคการค้นหา (Searching) และคัดชี้ (Identifying) ความเสี่ยง 6 เทคนิคการค้นหา (Searching) และคัดชี้ (Identifying) ความเสี่ยง 2. กำหนดสาเหตุและผลกระทบของความเสี่ยง (Cause and Effect) โดยตั้งคำถามว่า ผลกระทบที่เกิดจากสาเหตุของความเสี่ยงนั้นๆ คืออะไร .... เช่น ความเสี่ยงเรื่องการขาดสืบทอดตำแหน่ง การผลกระทบที่เกิดขึ้นคือ ......... ความเสี่ยงเรื่องเกิดคู่แข่งใหม่ๆ ผลกระทบที่เกิดขึ้นคือ .........

ความสำคัญกับการวิจัย ได้รับการจัดสรรงบประมาณ Cause & Effect Diagram ขาดองค์ความรู้ในการพัฒนาและ แก้ไขปัญหาของประเทศ ต้องพึ่งพาองค์ความรู้ และเทคโนโลยีจากต่างประเทศ เจ้าหน้าที่ขาดแรงจูงใจ และขาดการกระตุ้น ขาดทิศทางขององค์กรที่เหมาะสม ทำให้งานสำคัญหยุดชงัก ขาดผลงานดีเด่น ผลงานการวิจัยของประเทศมีน้อย ทำให้งานล่าช้าไม่เป็นไปตามแผน External Factors Internal Factors ขาดการสืบทอดตำแหน่ง นโยบายรัฐบาลไม่ให้ ความสำคัญกับการวิจัย NRCT ความล้มเลวของระบบ IT ได้รับการจัดสรรงบประมาณ ไม่เพียงพอ ขาดผู้นำมืออาชีพ

Question & Answer