กรณีความเสี่ยง DMSc
เกณฑ์การให้คะแนนบริหารความเสี่ยงของ กพร. 2 เกณฑ์การให้คะแนนบริหารความเสี่ยงของ กพร. ขั้นตอนที่ 1 มี คณก. บริหารความเสี่ยง ขั้นตอนที่ 2 วิเคราะห์ ระบุ และจัดลำดับความสำคัญของปัจจัยเสี่ยง ขั้นตอนที่ 3 จัดทำแผนบริหารความเสี่ยงประจำปี 2552 ส่ง ก.พ.ร. ภายใน 31 มี.ค. 2252 ขั้นตอนที่ 4 ดำเนินการตามแผน ฯ ให้แล้วเสร็จครบถ้วน ขั้นตอนที่ 5 สรุปผลการดำเนินการตามแผน ฯ และมีข้อเสนอแนะสำหรับ แผน ฯ ปีต่อไป
แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี (2551-2554) DMSc วิสัยทัศน์ “องค์กรหลักของประเทศในการเป็นห้องปฏิบัติการอ้างอิงและประกันคุณภาพห้องปฏิบัติการด้านการแพทย์และสาธารณสุข รวมทั้งการวิจัยและพัฒนาเพื่อนำไปสู่การพัฒนาคุณภาพผลิตภัณฑ์และการบริการสุขภาพตลอดจนสนับสนุนระบบเตือนภัยทางสุขภาพ ”
แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี (2551-2554) DMSc วิสัยทัศน์ (ใหม่) “กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์เป็นผู้นำด้าน วิทยาศาสตร์การแพทย์”
แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี (2551-2554) DMSc พันธกิจ 1. ศึกษา วิจัย พัฒนา เพื่อให้ได้องค์ความรู้และเทคโนโลยีด้านวิทยาศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุข นำไปใช้และสนับสนุนการวินิจฉัย รักษา ควบคุมป้องกันโรค การตรวจสอบคุณภาพความปลอดภัยของผลิตภัณฑ์และการบริการสุขภาพ 2. พัฒนาศักยภาพห้องปฏิบัติการอ้างอิงและรับรองคุณภาพปฏิบัติการด้านการแพทย์และสาธารณสุข 3. ตรวจวิเคราะห์และเฝ้าระวังเพื่อประเมินความเสี่ยงเตือนภัยสุขภาพ และแก้ไขปัญหายาเสพติด
แนวทางการระบุความเสี่ยงของ DMSc อะไรคืองานหลัก (Core Business) ของ DMSC? DMSC เป็นหน่วยงานของรัฐ ที่ไม่มีรายได้ Outputs และ Outcomes ของ DMSC คืออะไร?? ในการผลิต Outputs แต่ละอย่าง DMSC มีกระบวนการดำเนินงานอย่างไร? แต่ละขั้นตอนของกระบวนงานของ DMSC. มีเหตุการณ์ใดบ้างที่อาจเกิดขึ้น และทำให้ DMSC. ไม่สามารถดำเนินงานต่อไปได้ หรือดำเนินงานได้แต่ทำให้ผลงานไม่มีผลสัมฤทธิ์เท่าที่ควร (DMSC. ตั้งสมมุติฐานใดบ้างในการดำเนินงาน สมมุติฐาน= ความเสี่ยง)
6 DMSc. มีภารกิจการให้ต่อสังคม 3 ประการ 1. ค้นคว้าวิจัยเพื่อสนับสนุนการแก้ไขปัญหาสาธารณสุขของประเทศ 2. ให้บริการทางวิทยาศาตร์การแพทย์และสาธารณสุข เช่น ให้การรับรอง ห้อง lab. พัฒนาห้อง lab. ด้านการแพทย์และสารณสุขของรัฐและเอกชน รวมทั้ง ตรวจวิเคราะห์ผลิตภัณฑ์สุขภาพเพื่อการคุ้มครองผู้บริโภค 3. ให้องค์ความรู้ และความรู้ความเข้าใจทางด้านการแพทย์และสาธารณสุขแก่ ประชาชน
Research leads to the summit of knowledge. 6 Research leads to the summit of knowledge. (การวิจัยนำมาถึงยอดแห่งความรู้) Impact พัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม Input เงินทุน ข้อมูลสารสนเทศ นักวิจัย องค์ความรู้ เครื่องมือการวิจัย สิ่งอำนวยความ สะดวกอื่นๆ กระบวนการสร้าง องค์ความรู้ของ ของประเทศ Output องค์ความรู้ จากการวิจัย
เทคนิคการค้นหา (Searching) และคัดชี้ (Identifying) ความเสี่ยง 6 เทคนิคการค้นหา (Searching) และคัดชี้ (Identifying) ความเสี่ยง กำหนดตามวัตถุประสงค์ขององค์กรและหน้าที่การงานที่ทำ เช่น ● การดำเนินการวิจัยและพัฒนา .... เช่น เกิดความเสี่ยงเรื่องผลงานวิจัยไม่ตอบสนองต่อการแก้ปัญหาและความต้องการ ● การให้บริการให้การรับรองห้อง lab. พัฒนาห้อง lab. ด้านการแพทย์และสารณสุขแก่หน่วยงานรัฐและเอกชน.... เช่น เกิดความเสี่ยงในเรื่องความล่าช้าของงานให้บริการ เกิดความเสี่ยงในเรื่องคุณภาพการให้บริการ
เทคนิคการค้นหา (Searching) และคัดชี้ (Identifying) ความเสี่ยง 6 เทคนิคการค้นหา (Searching) และคัดชี้ (Identifying) ความเสี่ยง 2. กำหนดสาเหตุและผลกระทบของความเสี่ยง (Cause and Effect) โดยตั้งคำถามว่า ผลกระทบที่เกิดจากสาเหตุของความเสี่ยงนั้นๆ คืออะไร .... เช่น ความเสี่ยงเรื่องการขาดสืบทอดตำแหน่ง การผลกระทบที่เกิดขึ้นคือ ......... ความเสี่ยงเรื่องเกิดคู่แข่งใหม่ๆ ผลกระทบที่เกิดขึ้นคือ .........
ความสำคัญกับการวิจัย ได้รับการจัดสรรงบประมาณ Cause & Effect Diagram ขาดองค์ความรู้ในการพัฒนาและ แก้ไขปัญหาของประเทศ ต้องพึ่งพาองค์ความรู้ และเทคโนโลยีจากต่างประเทศ เจ้าหน้าที่ขาดแรงจูงใจ และขาดการกระตุ้น ขาดทิศทางขององค์กรที่เหมาะสม ทำให้งานสำคัญหยุดชงัก ขาดผลงานดีเด่น ผลงานการวิจัยของประเทศมีน้อย ทำให้งานล่าช้าไม่เป็นไปตามแผน External Factors Internal Factors ขาดการสืบทอดตำแหน่ง นโยบายรัฐบาลไม่ให้ ความสำคัญกับการวิจัย NRCT ความล้มเลวของระบบ IT ได้รับการจัดสรรงบประมาณ ไม่เพียงพอ ขาดผู้นำมืออาชีพ
Question & Answer