ภารกิจ อสม.งานประจำ/งานนโยบาย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ผู้ป่วยแน่น OPD. ผู้ป่วยแน่น OPD ผู้ป่วยแน่น IPD.
Advertisements

หมู่บ้านจัดการสุขภาพ ตำบลหนองยาว อ.เมือง จ.สระบุรี
นโยบายและงานเร่งด่วนของกระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๕
การอบรม อสม. รุ่น 2 เป้าหมาย อสม.รุ่น 1 - อสมช. ด้านโรคความดันโลหิตสูง
กายภาพบำบัด ใน โรงพยาบาลสร้างเสริมสุขภาพตำบล
แผนภูมิโครงสร้างส่วนราชการของกระทรวงสาธารณสุข
ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
บทบาท อสม. ในการดำเนินการ“รวมพลัง อสม
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารลดหวาน มัน เค็ม ลดอ้วน ลดโรค
นโยบายการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ภารกิจ(3)ประเด็นหลัก(5)หัวข้อ (19) 1. การตรวจติดตาม นโยบายและปัญหา เร่งด่วนของกระทรวง สาธารณสุข 1. การดำเนินงานเพื่อ.
การพัฒนาศักยภาพ อสม. ปี 2554
โรงเรียน อสม.ตำบลหนองไม้แก่น
ความหมายและกระบวนการ
ข้อมูลที่จัดเก็บประกอบด้วย
การบริหารงบบริการสร้างเสริมสุขภาพและ ป้องกันโรคทั่วไป (ยกเว้นค่าบริการทันตกรรมส่งเสริมป้องกัน)
แนวคิด การดำเนินงาน โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
การประชุมเชิงปฏิบัติการใช้ค่ากลาง
นโยบายการดำเนินงานโรคเรื้อรัง ตัวชี้วัด: จังหวัดมีการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคเรื้อรัง (สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย) ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน โดย รัตนาภรณ์ ฮิมหมั่นงาน.
การสำรวจหา ค่ากลาง นโยบายรัฐบาล เรื่องการพัฒนาสุขภาพของ ประชาชน ประกาศเมื่อ 23 สิงหาคม จัดให้มีมาตรการสร้างสุขภาพโดยมี เป้าหมายเพื่อลดอัตราป่วย.
งานโรคไม่ติดต่อ กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครราชสีมา
การพัฒนาหลังจากมีการกำหนดค่ากลางของจังหวัด
นโยบาย/แนวทางการดำเนินงาน และกลุ่มหญิงตั้งครรภ์
แนวนโยบายโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ความคาดหวังหลังการประชุมฯ ครั้งนี้
แนวทางการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล เขต 5
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
โรคหลอดเลือดสมองเสื่อม
รพสต. ความปลอดภัยผลิตภัณฑ์ พฤติกรรม การโฆษณา การบริโภค หลอกลวง
LOGO งาน High Light การพัฒนา สุขภาพ จังหวัดลพบุรี ประจำปี 2552.
นายแพทย์ไพจิตร์ วราชิต รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
แผนเชิงรุกการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ปีงบประมาณ 2551 โดยคณะทำงานยกร่างแผนงานเชิงรุก กระทรวงสาธารณสุข-สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ นพ.ชูวิทย์
น.พ. ศิริวัฒน์ ทิยพ์ธราดล
นโยบาย ปฐมภูมิ ลดแออัด พัฒนาคุณภาพบริการ
แนวทางการดำเนินงานตามนโยบายสำคัญของกระทรวงสาธารณสุข
ประเด็นปัญหาสาธารณสุขและแผนงานโครงการ ตำบลห้วยไร่ ปี 2557
แผนส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค กลุ่มวัยผู้สูงอายุ 2557
แนวทางการดำเนินงาน ปี ๒๕๕๕
นโยบาย ส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ของกระทรวงสาธารณสุข
ร่วมด้วย ช่วยกัน ประชาชนคือ เป้าหมาย ร่วมด้วย ช่วยกัน ประชาชนคือ เป้าหมาย นพ. นิทัศน์ ราย ยวา ผู้ตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข.
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
ตัวชี้วัด เป้าหมาย แนวทางดำเนินงาน ของกลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค
วิเคราะห์บริบท / สถานการณ์
ส่งเสริมสัญจร.
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
นักโภชนาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ
แนวทางการดำเนินงานเกษตรกรปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข
โครงการหมู่บ้าน / ชุมชน ลดหวาน มัน เค็ม ลดอ้วน ลดโรค
แนวทางการปฏิบัติภารกิจ ของสถานีอนามัย
การจัดบริการสุขภาพ ผู้สูงอายุไทย
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
องค์ประกอบและระยะเวลาที่ เปลี่ยนแปลง  จากมีวาระ 2 ปี เป็น 4 ปี  เพิ่ม ผู้แทนหน่วยรับเรื่องร้องเรียน อิสระ หรือศูนย์ประสานงานภาค ประชาชน หรือองค์กรเอกชนด้าน.
บทบาท อสม.เชิงรุก ๑. เป็นผู้นำทางความคิดและผู้นำทางด้านสุขภาพในระดับชุมชน ในการลดโรค ๕ โรคสำคัญที่เป็นสาเหตุการตายลำดับต้นๆของประชาชน คือ เบาหวาน ความดันโลหิตสูง.
สรุปโครงการอบรมพัฒนาศักยภาพ อสม.ปี 2550
วิสัยทัศน์ อบต. หนองหญ้า “ ส่งเสริมการศึกษา พัฒนาแหล่งน้ำ เสริมสร้างคุณภาพชีวิต ชุมชนเข้มแข็ง แหล่งท่องเที่ยวก้าวไกล สืบสานวัฒนธรรมไทย การบริหาร โปร่งใส.
สรุปผลงานส่วนสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม ประจำปีงบประมาณ พ. ศ โครงการรณรงค์ฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า ประจำปี 2555 ระยะเวลาดำเนินการ วันที่ 1.
นโยบายยางน้อยสุขภาพดี ไม่มีพุง
การปฏิบัติตามนโยบาย ปลัดกระทรวงสาธารณสุข
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
 จัดสิ่งแวดล้อมที่ดีทั้งในและนอกบ้าน  ไม่กินอาหารสุกๆดิบๆ และอาหารที่มันมาก  บริโภคผักปลอดสารพิษ ที่ปลูกเอง  ล้างมือก่อน-หลังกินอาหาร/ก่อน-หลังเข้า.
1111 การขับเคลื่อน สู่ เป้าหมายกรม ควบคุมโรค ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ดร. นายแพทย์พรเทพ ศิริวนา รังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค 17 พฤษภาคม 2555.
Unity Team (รวมกันเป็นหนึ่งเดียว) การทำงานร่วมกันและดำเนินงาน
ทิศทางการพัฒนางานสุขศึกษาและพฤติกรรมสุขภาพ
หน่วยงานภาครัฐ, อปท. และเอกชนมีสนับสนุน งบประมาณ, ประสานงาน กัน อย่างต่อเนื่องและ เข้มแข็ง ( นาจอมเทียน, บางเสร่, พูลตาหลวง, แสมสาร, สัตหีบ ) มีระบบข้อมูลที่มี
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
แนวทางการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ
วันรับรางวัล อสม.ดีเด่นระดับชาติประจำปี 2553 ณ หอประชุมเจ้าพระยา กองทัพเรือ กรุงเทพฯ วันที่ 24 มิถุนายน 2553.
ยุทธศาสตร์การพัฒนารพ. สต. แบบบูรณาการจังหวัดแพร่ ประจำปีพ. ศ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ภารกิจ อสม.งานประจำ/งานนโยบาย ภารกิจ อสม.งานประจำ/งานนโยบาย วันอังคารที่ 19 ตุลาคม 2553 กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข

บทบาท อสม.ตามภารกิจประจำ กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข บทบาท อสม.ตามภารกิจประจำ 1. เป็นผู้สื่อข่าวสารระหว่างเจ้าหน้าที่สาธารณสุขกับชุมชน 2. แนะนำถ่ายทอดความรู้แก่เพื่อนบ้านและแกนนำสุขภาพประจำครอบครัว 3. เป็นผู้ให้บริการสาธารณสุขมูลฐานแก่ประชาชน 4 กลุ่ม 3.1 การดูแลสุขภาพกลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 3.2 การดูแลสุขภาพกลุ่มเด็กแรกเกิด – อายุ 6 ปี 3.3 การดูแลสุขภาพกลุ่มผู้สูงอายุ 3.4 การดูแลสุขภาพกลุ่มผู้พิการ

บทบาท อสม.ตามภารกิจประจำ(ต่อ) กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข บทบาท อสม.ตามภารกิจประจำ(ต่อ) 4. เฝ้าระวัง ป้องกันปัญหาสาธารณสุขในหมู่บ้าน 5. ร่วมวางแผน แก้ปัญหาโดยใช้งบอุดหนุน สสม.10,000 บาท ต่อหมู่บ้าน

บทบาท อสม.เชิงรุก(ตามนโยบาย) กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข บทบาท อสม.เชิงรุก(ตามนโยบาย) ด้านการให้บริการเน้น 5 ด้าน ได้แก่... 1.รักษาพยาบาลเบื้องต้น การให้ความรู้การรับบริการรักษาฟรี 48 ล้านคน โดยใช้บัตรประชาชนใบเดียว ทั้งในกรณีปกติ และฉุกเฉิน 2.ป้องกันโรค เช่น โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคมะเร็ง โรคอัมพฤกษ์/อัมพาต โรคไข้หวัดใหญ่ โรคไข้เลือดออก

บทบาท อสม.เชิงรุก(ตามนโยบาย)(ต่อ) กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข บทบาท อสม.เชิงรุก(ตามนโยบาย)(ต่อ) 3. ส่งเสริมสุขภาพ เช่น รณรงค์ให้รับประทานผลิตภัณฑ์ทีเสริมสารไอโอดีน จัดทำโครงการ/กิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลดบริโภค หวาน มัน เค็ม ออกกำลังกาย รับประทานผัก ส่งเสริมการใช้สมุนไพร 4. ฟื้นฟูสมรรถภาพ เช่น เน้นการติดตามดูแลเยี่ยมผู้ป่วยที่บ้าน (Home ward) ผู้ป่วยเรื้อรัง ผู้สูงอายุ ผู้พิการ 5. คุ้มครองผู้บริโภค เช่น เฝ้าระวัง สอดส่องโฆษณาชวนเชื่อยา/ผลิตภัณฑ์สุขภาพ การตรวจปนเปื้อนในอาหาร/พืชผัก

6. ด้านบริหารจัดการระบบสุขภาพชุมชน กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข 6. ด้านบริหารจัดการระบบสุขภาพชุมชน ร่วมเป็นคณะกรรมการขับเคลื่อนงาน และกรรมการกองทุน สุขภาพตำบล เป็นแกนนำในการจัดทำแผนสุขภาพตำบล บริหารจัดการกองทุนสุขภาพตำบลเพื่อสนับสนุนโครงการในการแก้ปัญหาสุขภาพชุมชน ติดตามการจ่ายเงินค่าป่วยการ ร่วมติดตามประเมินผลระบบสุขภาพตำบล

กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข ..สวัสดี..