๒๕ ธ.ค. ๒๕๕๑ ณ โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ คอนเวนชั่น กรุงเทพฯ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
แนวทางการดำเนินการของกระทรวงสาธารณสุข
Advertisements

ระบบข้อมูลสารสนเทศเพื่อการศึกษา
หลักเกณฑ์การวิเคราะห์ความเสี่ยง ตามหลักธรรมาภิบาล
หลักการสำคัญ ในการปรับปรุงกฎหมาย ว่าด้วยระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน
การจัดการความรู้ในสำนักงานประกันสังคม
การเปลี่ยนแปลงเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ปลัดกระทรวงสาธารณสุข
งบกองทุนทันตกรรม ปีงบประมาณ 2554
กุลภัทรา สิโรดม 20 กรกฎาคม 2554
ประกาศหลักเกณฑ์การบริหารกองทุนฯปี ๒๕๕๗
วาระที่ 4.1 องค์ประกอบคณะกรรมการ/คณะทำงาน ภายใต้อปสข.
สัปดาห์ที่ 2 เรื่อง โครงการสุขศึกษา
Research Mapping.
นโยบายและงานเร่งด่วนของกระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๕
ทิศทางการพัฒนา “อำเภอป้องกัน ควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน”
แต่งตั้งคณะกรรมการบริหาร และพัฒนาโรงพยาบาล ส่งเสริมสุขภาพตำบล
แนวทางการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
นโยบายกระทรวงสาธารณสุข
หลักสูตรสาธารณสุขศาสตรบัณฑิต (ส.บ. หรือ B.PH.)
ที่ว่าการอำเภอปะนาเระ
วิชาชีพสาธารณสุขของท้องถิ่นก้าวหน้า หรือล้าหลัง
แผนการขับเคลื่อนกรอบคุณวุฒิแห่งชาติสู่การปฏิบัติ
การประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ กับกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับแผนชุมชน
ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงเพื่อสร้างความโปร่งใส ในกระบวนงานกระบวนการพัฒนาและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิเยาวชน (การเสริมสร้างความเข้มแข็งสภาเด็กและเยาวชน) ของสำนักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก.
ยุทธศาสตร์การวิจัยฉบับที่ 8 ( ) vs ยุทธศาสตร์และแผนวิจัยระบบสาธารณสุข
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
คุณลักษณะที่ ๒ มีระบบระบาดวิทยาที่ดีในระดับอำเภอ
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
ประชุมเพื่อประสานแผน การทำงาน การกำหนดเป้าหมาย และการติดตามกำกับงาน
๑. อำนาจหน้าที่ของ อปท. ๒. หน่วยงานต่าง ๆ ได้ขอรับการสนับสนุน จาก อปท
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
ทำไมต้องปรับระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ?
การประชุมเชิงปฏิบัติการ การพัฒนาศักยภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ด้านนโยบายและยุทธศาสตร์ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ประจำปี 2549.
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
แนวทางการบริหารงบประมาณสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคระดับพื้นที่
นายแพทย์ไพจิตร์ วราชิต รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
นโยบายสร้างความเป็น เอกภาพ ลดความเหลื่อมล้ำของ ๓ กองทุน นายแพทย์สมชัย นิจพานิข รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข.
ปัญหาและแนวทางการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ. สต
ข้อเสนอ เพื่อการบริหารงานสาธารณสุข สู่ความเป็นเลิศด้านสุขภาพ กลุ่มนายแพทย์สาธารณสุขจังหวัด 27 ตุลาคม 2551.
การบริหารเชิงยุทธศาสตร์
บทบาทขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในการสร้างแรงจูงใจและมีส่วนร่วม
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
นโยบายด้านบริหาร.
นโยบายการดำเนินงาน “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” ปีงบประมาณ 2556
นโยบายสาธารณะกับการปฏิรูปการเมือง การปกครอง และการบริหาร
การบริหารงานบุคลากร ภาครัฐแนวใหม่
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
จะเริ่มอย่างไร ? จุดเริ่มต้นของการปฏิรูประบบสุขภาพระดับอำเภอ อยู่ที่การกำหนดค่ากลางของความสำเร็จของโครงการสุขภาพระดับเขต เพื่อส่งมอบให้จังหวัดนำเข้าสู่กระบวนการ(1)
3.การจัดทำงบประมาณ.
นโยบายการดำเนินงาน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ศ. นพ. รัชตะ รัชตะนาวิน และ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข นพ. สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์
องค์ประกอบและระยะเวลาที่ เปลี่ยนแปลง  จากมีวาระ 2 ปี เป็น 4 ปี  เพิ่ม ผู้แทนหน่วยรับเรื่องร้องเรียน อิสระ หรือศูนย์ประสานงานภาค ประชาชน หรือองค์กรเอกชนด้าน.
วิสัยทั ศน์ เป็นองค์กรที่เป็นเลิศด้าน การแก้ไขปัญหาสุขภาพจิตจาก แอลกอฮอล์ของประเทศและ พัฒนาระบบบริการสุขภาพจิต และจิตเวชในเครือข่ายบริการ สุขภาพจิตที่
เทศบาลตำบลบัลลังก์ จดหมายข่าว ระเบียบกองทุนหลักประกันสุขภาพ
กรอบแนวคิด หลักการ กฎหมาย คุ้มครองผู้เสียหายจากบริการ สาธารณสุข เครือข่ายผู้เสียหายทางการแพทย์ เครือข่ายศูนย์ประสานงานหลักประกันสุขภาพ ภาค ประชาชน มูลนิธิเพื่อผู้บริโภค.
ตัวชี้วัด ร้อยละของเทศบาลและองค์การบริหารส่วนตำบล ที่นำแผนชุมชนสู่การพัฒนาท้องถิ่นได้ตามเกณฑ์ที่กำหนด.
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
การจัดการด้านสุขภาพของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สู่เมืองไทยแข็งแรง รัฐบาลได้ประกาศให้ “ เมืองไทยแข็งแรง ” โดยกำหนด เป้าหมายให้คนไทยแข็งแรงถ้วน หน้า ในปี
"วาริชภูมิน่าอยู่ ผู้คนสุขภาพดี ภาคี เข้มแข็ง"
และการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ ประจำปี ๒๕๕๕ สาธารณสุขอำเภอป่าติ้ว
กลุ่มที่ 2 กลุ่มพัฒนาภาคีเครือข่าย สคร.1-12
จุดเน้น ด้านการบริหารจัดการ
แผนที่ยุทธศาสตร์กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ
การขับเคลื่อนวาระแห่งชาติด้าน การสหกรณ์ จังหวัดสุรินทร์ วันที่ ๒๗ ธันวาคม ๒๕๕๖ ณ โรงแรมทองธารินทร์
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

๒๕ ธ.ค. ๒๕๕๑ ณ โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ คอนเวนชั่น กรุงเทพฯ ร่วมกันคิด ช่วยกันทำ : ก้าวย่างและพัฒนาการของ ความร่วมมือระหว่างกระทรวงสาธารณสุขและสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ในการเสริมสร้างสุขภาพและป้องกันโรค ๒๕ ธ.ค. ๒๕๕๑ ณ โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ คอนเวนชั่น กรุงเทพฯ แพทย์หญิงศิริพร กัญชนะ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข

สถานการณ์ที่เปลี่ยนไป ๑. มีการจัดตั้ง สสส. ๒. สปสช. ๓. การถ่ายโอนภารกิจด้านสุขภาพไปสู่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอันเป็นผลมาจาก พรบ.กำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจ ๔. การปฏิรูประบบราชการในปี ๒๕๔๕ ๕. สถานพยาบาลเอกชน เริ่มมีบทบาทการส่งเสริมป้องกันสำหรับประชาชนที่ขึ้นทะเบียนหลักประกันสุขภาพและผู้มีประกันสังคมมากยิ่งขึ้น

บทบาทและภารกิจของหน่วยงาน องค์การที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพในปัจจุบัน สธ. การพัฒนาสุขภาพระดับนโยบายและการสาธารณสุขระดับชุมชน สปสช. การบริหารจัดการงบประมาณสำหรับบริการสุขภาพระดับบุคคลและครอบครัว สสส. การสร้างเสริมสุขภาพ สช. การขับเคลื่อนเชิงสังคมและภาคประชาชน อปท. ส่วนราชการอื่น ฯ การสนับสนุนเฉพาะกลุ่มเฉพาะด้าน

บทบาทภารกิจของกระทรวง บทบาทภารกิจของ สปสช. ตามพระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม พ.ศ.๒๕๔๕ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา ณ วันที่ ๒ ตุลาคม พ.ศ.๒๕๔๕ มาตรา ๔๒ ได้กำหนดว่า “กระทรวงสาธารณสุขมีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับการสร้างเสริมสุขภาพอนามัย การป้องกัน ควบคุมและรักษาโรคภัย การฟื้นฟูสมรรถภาพของประชาชนและราชการอื่นตามที่กฎหมายกำหนด ให้เป็นอำนาจหน้าที่ของกระทรวงสาธารณสุข” เป้าหมายการบริหารงบประมาณของ สปสช. ระบุไว้ว่า “เพื่อให้ประชาชนไทยทุกคนในพื้นที่และภูมิภาค ไม่ว่าจะมีการประกันสุขภาพระบบใด สามารถเข้าถึงบริการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคอย่างทั่วถึง และเท่าเทียมกัน มีการกระจายงบประมาณลงสู่พื้นที่อย่างเป็นธรรม และกระตุ้นให้ผู้ให้บริการมีแรงจูงใจที่เหมาะสมในการให้บริการกับประชาชนมากขึ้น โดยการจ่ายเงินตามผลงานและความครอบคลุมของการให้บริการ ทั้งนี้ เพื่อให้เกิดการให้บริการได้อย่างแท้จริง และสามารถผลักดันให้มีการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคตามชุดสิทธิประโยชน์อย่างมีประสิทธิภาพ

ความร่วมมือในการบริหารงบประมาณสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค MOPH NHSO Policy Formulation & Provider Provider ผู้รับบริการ / ประชาชน Consumer

หลักการร่วมกันคิด ช่วยกันทำ ๑. หลักแห่งความรับผิดชอบร่วมกัน ๒. หลักบูรณาการที่มุ่งเน้นการแก้ไขปัญหาสุขภาพในพื้นที่ ๓. หลักการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรและหน่วยงานในพื้นที่

ความร่วมมือในการบริหารงบประมาณสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคระดับบุคคล เป็นความร่วมมือระหว่างผู้กำหนดนโยบายและผู้ให้บริการกับผู้ซื้อบริการ โดยมีเป้าหมายเพื่อให้ประชาชนหรือผู้รับบริการได้ประโยชน์สูงสุดภายใต้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจำกัดด้วยหลักการ ร่วมกันคิด ช่วยกันทำ ในทุกระดับ ซึ่งจะเป็นก้าวแรกของการพัฒนาความร่วมมือในด้านอื่น ๆ ต่อไป

ขอขอบคุณ