โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล โดย นายแพทย์สมศักดิ์ ภัทรกุลวณิชย์ ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมสุขภาพ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข
จุดหมายปลายทาง (Destination) ประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) กระบวนการ (มุมมองเชิงบริหารจัดการ) - ประชาชนมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพของตนเอง - ชุมชนมีศักยภาพในการดูแลสุขภาพ ของประชาชนในชุมชนได้ - ประชาชนมีภาวะสุขภาพ และพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม - มีองค์ความรู้นวัตกรรมเทคโนโลยี ที่ทันสมัย ตรงความต้องการของลูกค้า - การถ่ายทอดองค์ความรู้ / เทคโนโลยี ที่มีมาตรฐานครอบคลุมกลุ่มเป้าหมาย - มีระบบสารสนเทศที่ทันสมัยเข้าถึงได้ง่าย - มีความสัมพันธ์ที่ดีกับภาคีเครือข่าย ภาคีเครือข่าย (มุมมองเชิงผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย) พื้นฐาน (มุมมองเชิงการเรียนรู้ และพัฒนา) - ภาคีเครือข่ายให้การสนับสนุน การดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพในพื้นที่ - องค์กรท้องถิ่นเห็นความสำคัญ และ ให้การสนับสนุนทรัพยากรในการส่งเสริมสุขภาพต่อชุมชนอย่างต่อเนื่อง - มีเครือข่ายการดำเนินงานในชุมชน - ฐานข้อมูลมีประสิทธิภาพ - องค์กรมีสมรรถนะสูง - บุคลากรมีศักยภาพเป็นมืออาชีพ
แผนที่ยุทธศาสตร์โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ประจำตำบล (SLM) ปี พ.ศ. 2552 - 2554 กรมอนามัย ประชาชน (Valuation) ภาคีเครือข่าย (Stakeholder) กระบวน การ (Management) พื้นฐาน (Learning / Development) ชุมชนมีศักยภาพในการดูแลตนเองได้ - ชุมชนมีการดูแลสุขภาพด้วยตนเอง มีแผนงาน ชุมชนพึ่งตนเองได้ในเรื่องการส่งเสริมสุขภาพ - ชุมชนมีส่วนร่วมในการจัดทำแผนชุมชน ภาคีเครือข่ายสนับสนุนการส่งเสริม ดำเนินงาน รพ.สส. ประจำตำบล - พัฒนาความเข้มแข็งของภาคีเครือข่าย องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นสนับสนุนทรัพยากร อย่างเพียงพอ และต่อเนื่อง - สร้างการมีส่วนร่วมในการจัดการภาวะสุขภาพประชาชนในพื้นที่ โรงพยาบาล (PCU) มีความสัมพันธ์ที่ดีกับภาคีเครือข่าย - สร้างการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่าย มีระบบสื่อสารประชาสัมพันธ์ที่มีประสิทธิภาพ - ประสานความร่วมมือภาครัฐ / เอกชนสร้างกระแสสังคม พัฒนาระบบจัดการความรู้ - สนับสนุนให้มีการบริหารจัดการความรู้ มีระบบการพัฒนาองค์ความรู้ นวัตกรรม และบริการส่งเสริมสุขภาพชุมชน - พัฒนาระบบการบริการ และการส่งเสริมสุขภาพคุณภาพอย่างเป็นองค์รวมต่อเนื่อง สอดคล้องความต้องการ มีระบบสารสนเทศที่มีประสิทธิภาพ - พัฒนาช่องทางการสื่อสาร ข้อมูลทันสมัยมีประสิทธิภาพ - พัฒนาระบบฐานข้อมูล สารสนเทศ และเทคโนโลยี ด้านส่งเสริมสุขภาพ มีทักษะ และสมรรถนะที่เหมาะสม - พัฒนาความเป็นมืออาชีพ ด้านการพัฒนา และประเมินโรงพยาบาลประจำตำบล คุณลักษณะขององค์กรที่ดี - พัฒนาบุคลากรให้เป็นผู้นำ และทำงานเป็นทีม
แนวทางการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล จากเวทีโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพระดับชาติ ครั้งที่ 6 24 – 26 มิถุนายน 2552
1. กระทรวงสาธารณสุขควรปรับกระบวนทัศน์ให้บุคลากรสาธารณสุขเข้าใจหลักการส่งเสริมสุขภาพเพื่อให้โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล จัดกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพได้สอดคล้องกับบริบทของพื้นที่ 2. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลประยุกต์ใช้แนวคิด และกระบวนการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพเพื่อการพัฒนาคุณภาพบริการ
3. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล จัดกิจกรรมการส่งเสริมสุขภาพของ กลุ่มวัยต่าง ๆ เช่น คลินิกฝากครรภ์ คลินิกสุขภาพเด็กดี คลินิกวัยรุ่น คลินิก ไร้พุง คลินิกผู้สูงอายุ ควบคู่กับกิจกรรมพัฒนาชุมชน โดยชุมชนและท้องถิ่น มีส่วนร่วมพัฒนา จนเกิดมาตรการสังคมในชุมชน
4. โรงพยาบาลศูนย์ โรงพยาบาลทั่วไป และโรงพยาบาลชุมชน ทำงานร่วมกับโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล อย่างเป็นเครือข่าย ทั้งด้านการให้คำปรึกษาและการส่งต่ออย่างเป็นระบบ 5. การจัดสรรทรัพยากรควรปรับปรุง ให้สอดคล้องกับความต้องการ ของแต่ละพื้นที่
บริการในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล คลินิกฝากครรภ์ 2. คลินิกเด็กดี และพัฒนาการเด็ก 3. คลินิกวัยรุ่น และให้คำปรึกษา 4. คลินิกวางแผนครอบครัว 5. คลินิกไร้พุง 6. คลินิกผู้สูงอายุ
บริการในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล 7. การเยี่ยมบ้านหญิงตั้งครรภ์ ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ผู้สูงอายุ 8. อนามัยโรงเรียน 9. การทำแผนชุมชน กิจกรรมชุมชน พัฒนาชุมชน ชมรมสร้างสุขภาพ ชมรมผู้สูงอายุ ชมรมเด็กไทยทำได้
"ส่งเสริมให้คนไทยสุขภาพดี" กรมอนามัย "ส่งเสริมให้คนไทยสุขภาพดี"