พุทธวิธีการสอน (๒) (Buddha's Teaching Methods) รหัสวิชา บส ๐๑๓

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เกษตรกรรุ่นใหม่ และ Smart Farmer
Advertisements

โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล
ตามนโยบายสถานศึกษา 3 ดี
เทคนิคการสร้างความประทับใจ
การปฐมนิเทศนักศึกษาสหกิจศึกษา สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ สาขาวิชาธุรกิจอิเล็กทรอนิคส์ วันที่ ๒๘ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๔.
03/04/60.
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับนวัตกรรมการศึกษา
บทบาทผู้นำสหกรณ์ยุคใหม่ ผู้อำนวยการสถาบันอนาคตศึกษาเพื่อการพัฒนา
รายงานการวิจัย.
บริษัท Phuket Solution Lo.,Ltd
เรื่อง วัยรุ่น เสนอ คุณครู สุดารัตน์ นันทพานิช
ภาพรวมของแนวคิดโครงงาน
การประมวลและประเมินความก้าวหน้าทางวิชาการ
ห้องเรียนแห่งการเปลี่ยนแปลง
การศึกษาชีววิทยา หน้าถัดไป.
บทที่ 6 ค่านิยมในสังคมไทย
การปรับเปลี่ยนวิธีคิดทำงานใหม่
ความขัดแย้ง ( Conflict )
กระบวนการลงทะเบียนควบคุมครุภัณฑ์
หนี้สงสัยจะสูญและหนี้สูญ
เพื่อสร้างชีวิตที่มีความสุข พจนา ทรัพย์สมาน สพท. นครสวรรค์ 1
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน ประเภทติวเตอร์ Tutorial.
ความหมาย ประโยชน์ ลักษณะของทีม
หลักสูตรการจัดการทั่วไป
จิตวิทยา ในชีวิตประจำวัน.
มาตรฐานวิชาชีพครู.
มนุษย์สัมพันธ์ ในการทำงานเป็นทีม
การจูงใจ (Motivation)
การออกแบบการวิจัย(Research Design)
แนวคิดในการวิเคราะห์ผู้เรียนที่นิยม 5 แนวคิด
การเปลี่ยนแปลงโฉมหน้าทางการศึกษา
มนุษยสัมพันธ์ในการทำงาน
บทนำ บทที่ 1.
พุทธวิธีในการสอน.
ทักษะการใช้กิริยาท่าทาง และบุคลิกการเป็นครู
ดูแล ด้วยใจ ห่วงใยด้วย pap โดย ลาเดือน แก้วจินดา 04/04/60.
พยากรณ์โรคมือเท้าและปากในพื้นที่เขต18 (Hand Foot and Mouth Disease)
โรงเรียนละ 2 เล่ม.
ศาสตราจารย์ ดร.วิจิตร ศรีสอ้าน
ตาม พ.ร.บ. การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542
หน่วยที่ 7 หลักการจัดการ.
03/10/571 โครงการทบทวนแผนยุทธศาสตร์ของสนย.. 03/10/572 โครงการทบทวนแผนยุทธศาสตร์ของสนย.
วิธีวิทยาการวิจัยขั้นสูงทางการศึกษา
งานคุ้มครองผู้บริโภค ในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ทฤษฎีการปรับตัวของรอย
การจัดการความขัดแย้ง (Conflict Management)
กำลังคน กระทรวงสาธารณสุข
องค์ประกอบที่ ๑ การจัดทำป้ายชื่อพรรณไม้
Chris Argyris ( คริส อาร์กีริส )
นางสาวพรศิริ กลิ่นบำรุง วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการสยามในพระอุปถัมภ์ ฯ
29th Chumphol hospital.
การพัฒนานวัตกรรมการศึกษา
สัมมนาการพัฒนาหลักสูตรและการเรียนการสอนสำหรับท้องถิ่น
หลักสตรูแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551
ทักษะการใช้กิริยาท่าทางและบุคลิกการเป็นครู
ABAT วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
การใช้ทักษะในการพูด ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการพูด ผู้พูด สื่อ สาร
นายพนาสิน หอมจิตต์ ชั้น ปวช 1 เลขที่ 11 กลุ่ม 1 แผนกคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
แนวความคิด/หลักคำสอนที่สำคัญ
การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้วิชาหลักการจัดการ
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ส 41102
ชื่องานวิจัยในชั้นเรียน การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาในรายวิชาการบัญชีชั้นกลาง 2 สาขาวิชาการบัญชี วิทยาลัยอาชีวศึกษาสันติราษฎร์ ในพระอุปถัมภ์
แบบทดสอบ คือ... ชุดของข้อคำถามที่สร้าง ขึ้นเพื่อใช้วัดความรู้ สติปัญญา ความถนัด และ บุคลิกภาพของบุคคล โดย บุคคลนั้นจะตอบสนองโดย การแสดงพฤติกรรมใน รูปแบบต่างๆ.

ผู้วิจัย อาจารย์กุลรภัส ปองไป
เศรษฐกิจพอเพียง นางสาวสุนิสา จันทร์ตะบูน ชั้น ปวช 1 เลขที่ 20 กลุ่ม 2
กรอบแนวคิดการพัฒนาหลักสูตรช่วงชั้นที่ 3 และ 4
ความหมายของวงจรชีวิตผลิตภัณฑ์
ผู้วิจัย อาจารย์สมเกียรติ ขำสำราญ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

พุทธวิธีการสอน (๒) (Buddha's Teaching Methods) รหัสวิชา บส ๐๑๓ พระมหาทิพย์ โอภาสโก น.ธ.เอก, ป.ธ.๙, กศ.ม. วิทยาลัยสงฆ์บุรีรัมย์ E-mail.teentip@hotmail.com To.08-1472-0909 05/04/60 พุทธวิธีการสอน โดย พระมหาทิพย์ โอภาสโก ป.ธ.๙

วิเคราะห์ธรรมชาติผู้เรียน 1. การเจริญเติบโต( growth ) สุชา จันเอม หมายถึง การเพิ่มขนาดของส่วนต่างๆ ของร่างกาย เช่น ขนาด รูปร่าง สัดส่วน กระดูก กล้ามเนื้อและอื่นๆ ปรางค์ทิพย์ ทรงวุฒิศีล หมายถึง กระบวนการ เปลี่ยนแปลงไปสู่วุฒิภาวะ(maturation ) ทางด้านการ เพิ่มขนาด 05/04/60 พุทธวิธีการสอน โดย พระมหาทิพย์ โอภาสโก ป.ธ.๙

วิเคราะห์ธรรมชาติผู้เรียน Young หมายถึง การเพิ่มของน้ำหนัก ส่วนสูง หรือส่วนต่างๆทางด้านร่างกายที่เพิ่มตามอายุ โดยไม่มีการส่วนใดของร่างกายเพิ่มขึ้น สรุป การเจริญเติบโต หมายถึง การเพิ่มขนาด ของส่วนต่างๆของร่างกาย เช่น ขนาด รูปร่าง สัดส่วน กระดูก กล้ามเนื้อและอื่นๆ โดยเพิ่มตาม อายุ 05/04/60 พุทธวิธีการสอน โดย พระมหาทิพย์ โอภาสโก ป.ธ.๙

วิเคราะห์ธรรมชาติผู้เรียน 2. วุฒิภาวะ ( maturity ) กันยา สุวรรณแสง หมายถึง ภาวะที่บุคคล เจริญเติบโตโดยส่วนรวม เจริญเติบโตเต็มที่ทั้งทาง กายภาพและจิตภาพ พรรณี ชูทัย เจนจิต หมายถึง เป็นกระบวนการ เปลี่ยนแปลงซึ่งจะนำไปสู่การมีวุฒิภาวะ 05/04/60 พุทธวิธีการสอน โดย พระมหาทิพย์ โอภาสโก ป.ธ.๙

วิเคราะห์ธรรมชาติผู้เรียน สรุปได้ว่า วุฒิภาวะ หมายถึง กระบวนการการ เปลี่ยนแปลงของบุคคลที่เจริญถึงภาวะที่บุคคลมี ความเปลี่ยนแปลงในด้านหน้าที่และความสามารถ ที่จะแสดงออกได้ตามธรรมชาติในแต่ละช่วงวัย โดยไม่ต้องอาศัยการเรียนรู้หรือการฝึกฝน 05/04/60 พุทธวิธีการสอน โดย พระมหาทิพย์ โอภาสโก ป.ธ.๙

วิเคราะห์ธรรมชาติผู้เรียน 3. ความพร้อม ( readiness ) Robert หมายถึง ผลรวมของพัฒนาการของบุคคล ประสบการณ์แรงจูงใจ ความสามารถ และความสนใจที่ เกี่ยวข้องกับงานของการเรียนรู้ ความพร้อมของมนุษย์ ขึ้นอยู่กับ 1. วุฒิภาวะของเด็ก 2. ประสบการณ์ของเด็ก 3. แรงจูงใจและความสนใจ4. ความวิตกกังวลใจของเด็ก 5. วิธีสอนที่มีคุณภาพ 05/04/60 พุทธวิธีการสอน โดย พระมหาทิพย์ โอภาสโก ป.ธ.๙

วิเคราะห์ธรรมชาติผู้เรียน พรรณี ชูทัย เจนจิต กล่าวว่า ความพร้อม หมายถึง เป็นสภาวะที่สมบูรณ์ของบุคคลที่จะ เรียนรู้สิ่งใดสิ่งอย่างบังเกิดผล ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับ 1. วุฒิภาวะ 2. การได้รับการฝึกฝน การเตรียมตัว 3. ความสนใจหรือแรงจูงใจ 05/04/60 พุทธวิธีการสอน โดย พระมหาทิพย์ โอภาสโก ป.ธ.๙

วิเคราะห์ธรรมชาติผู้เรียน สรุป เป็นสภาวะที่บุคคลจะเรียนรู้สิ่งใดสิ่งหนึ่งอย่าง มีประสิทธิภาพ โดยความพร้อมมีผลมาจากวุฒิภาวะ พัฒนาการ แรงจูงใจและการได้รับการฝึกฝนดังนั้น การนำความรู้เกี่ยวกับความพร้อมไปใช้ในการเรียน การสอน จะต้องศึกษาช่วงวิกฤติและค้นพบเวลาที่ เหมาะสมหรือวิกฤติของนักเรียนที่จะเรียนรู้รายวิชา ต่างๆได้ 05/04/60 พุทธวิธีการสอน โดย พระมหาทิพย์ โอภาสโก ป.ธ.๙

แนวคิดความพร้อมในการเรียนรู้ แสงเดือน ทวีสิน ได้เสนอ ไว้ 2 แนวทาง 1. ความพร้อมเกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ (Natural Readiness Approach) 2. ความพร้อมเกิดจากการกระตุ้น (Guided Experience Approach ) 05/04/60 พุทธวิธีการสอน โดย พระมหาทิพย์ โอภาสโก ป.ธ.๙

วิเคราะห์ธรรมชาติผู้เรียน 4. พัฒนาการ (development) Mussen การว่าเป็นการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นใน มนุษย์หรือสัตว์ตั้งแต่เกิดจนตาย แต่ไม่ได้หมายถึงการ เปลี่ยน แปลงทุกอย่างของมนุษย์และสัตว์ 05/04/60 พุทธวิธีการสอน โดย พระมหาทิพย์ โอภาสโก ป.ธ.๙

วิเคราะห์ธรรมชาติผู้เรียน 1. ตามลำดับขั้น (sequence ) หมายถึง การเปลี่ยน แปลงจะเกิดขึ้นตามลำดับ  2. อัตราการเปลี่ยนแปลง (rate) หมายถึง อัตรา ความเร็วหรือช้าในการเปลี่ยนแปลง   3. รูปร่าง( form ) หมายถึง รูปร่างหรือการปรากฏ ของพัฒนาการในช่วงเวลาใดก็ได้ 05/04/60 พุทธวิธีการสอน โดย พระมหาทิพย์ โอภาสโก ป.ธ.๙

วิเคราะห์ธรรมชาติผู้เรียน เกี่ยวกับตัวผู้เรียน 2.1 รู้  คำนึงถึง  และสอนให้เหมาะสมตามความ แตกต่างระหว่างบุคคล 2.2 ปรับวิธีสอนผ่อนให้เหมาะกับบุคคล   แม้สอน เรื่องเดียวกันแต่ต่างบุคคล อาจใช้ต่างวิธี 2.3 นอกจากคำนึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคลแล้ว 05/04/60 พุทธวิธีการสอน โดย พระมหาทิพย์ โอภาสโก ป.ธ.๙

วิเคราะห์ธรรมชาติผู้เรียน เกี่ยวกับตัวผู้เรียน 2.4 สอนโดยให้ผู้เรียนลงมือทำด้วยตนเอง 2.5 การสอนดำเนินไปในรูปที่ให้รู้สึกว่าผู้เรียนกับ ผู้สอนมีบทบาทร่วมกัน 2.6 เอาใจใส่บุคคลที่ควรได้รับความสนใจพิเศษเป็น ราย ๆ ไป 2.7 ช่วยเอาใจใส่คนที่ด้อยกว่า  ที่มีปัญหา  ฯลฯ 05/04/60 พุทธวิธีการสอน โดย พระมหาทิพย์ โอภาสโก ป.ธ.๙

วิเคราะห์ธรรมชาติผู้เรียน เกี่ยวกับตัวการสอน การเริ่มต้นเป็นจุดสำคัญมาก สร้างบรรยากาศในการสอนให้ปลอดโปร่ง เพลิดเพลินไม่ให้ตึงเครียด สอนมุ่งเนื้อหา สอนโดยเคารพ ใช้ภาษาสุภาพ นุ่มนวล ไม่หยาบคาย 05/04/60 พุทธวิธีการสอน โดย พระมหาทิพย์ โอภาสโก ป.ธ.๙

วิเคราะห์ธรรมชาติผู้เรียน การวิเคราะห์ผู้เรียน 1.ธรรมชาติของผู้เรียน 2. วิธีการการเรียนรู้ หรือ ลีลาการเรียนรู้ 3. บุคลิกภาพ มี 6 แบบ ( อิสระ หลีกเลี่ยง ร่วมมือ พึ่งพา แข่งขัน และมีส่วนร่วม 4. การปรับวิธีการสอนให้สอดคล้องกับผู้เรียน 5.นำผลการทดลองใช้เป็นข้อมูล 05/04/60 พุทธวิธีการสอน โดย พระมหาทิพย์ โอภาสโก ป.ธ.๙

วิเคราะห์ธรรมชาติผู้เรียน กระบวนการทางปัญญา 1.ฝึกสังเกต 2.ฝึกบันทึก 3.ฝึกการนำเสนอ 4.ฝึกการฟัง 5.ฝึกปุจฉา - วิสัชนา 6.ฝึกตั้งสมมุติฐานและฝึก ตั้งคำถาม 7.ฝึกการค้นหาคำตอบ 8.การวิจัย 9.เชื่อมโยงบูรณาการ 05/04/60 พุทธวิธีการสอน โดย พระมหาทิพย์ โอภาสโก ป.ธ.๙