บทบาท/บริบทของสถานบริการ ในการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Homeward& Rehabilitation system
Advertisements

เตรียมพร้อมกายใจ เพื่อวัยเกษียณ. เตรียมพร้อมกายใจ เพื่อวัยเกษียณ.
งบกองทุนทันตกรรม ปีงบประมาณ 2554
การดำเนินงานสุขศึกษา ในชุมชน
กายภาพบำบัด ใน โรงพยาบาลสร้างเสริมสุขภาพตำบล
ดร. ธนวรรธน์ อิ่มสมบูรณ์
บริการปฐมภูมิ คณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล
เตรียมพร้อมกายใจ เพื่อวัยเกษียณ.
สถานการณ์ ผู้สูงอายุไทย ผศ.นันทยา อุดมพาณิชย์.
ท่วงท่า อิริยาบถในชีวิตประจำวัน
การดำเนินงานอาชีวเวชศาสตร์: แพทย์ที่ผ่านการอบรม
จะต้องผ่านเกณฑ์ด้านการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาวที่กำหนดไว้ทั้ง 4 ข้อ
โครงการสายใยรักแห่งครอบครัว
บทเรียน Best Practice ของระบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว
ตัวชี้วัด P4P ตัวชี้วัดที่2 : ร้อยละของผู้ที่อยู่ในภาวะพึ่งพิง(ติดเตียง)ได้รับการดูแล สุขภาพที่บ้าน(HHC) โดยบุคลากรสาธารณสุข เป้าหมาย ร้อยละ 80.
การบริหารงบบริการสร้างเสริมสุขภาพและ ป้องกันโรคทั่วไป (ยกเว้นค่าบริการทันตกรรมส่งเสริมป้องกัน)
ผลการพัฒนาระบบการคัดกรองภาวะแทรกซ้อนทางไตในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
แนวคิด การดำเนินงาน โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
ความคิดเห็นของข้าราชการเกี่ยวกับ สวัสดิการการรักษาพยาบาล พ.ศ. 2546
นพ.ก้องภพ สีละพัฒน์ ผู้นิเทศงานปฐมภูมิ
แนวทางการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล เขต 5
ระบบHomeward& Rehabilation center
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
การบริบาลเบื้องต้นในหน่วยบริการปฐมภูมิ PUBH 224_Basic Medical Care in Primary Care Unit Benjawan Nunthachai.
โรคหลอดเลือดสมองเสื่อม
นพ.วินัย ศรีสอาด สถาบันเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ กรมการแพทย์
การพัฒนาคลินิกผู้สูงอายุ
คลินิกผู้สูงอายุ อดีต ปัจจุบัน อนาคต
แนวทางการดำเนินงานและการสนับสนุนส่วนภูมิภาค ประจำปี 2550 แนวทางการดำเนินงานและการสนับสนุนส่วนภูมิภาค กรมการแพทย์
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ภารกิจ อสม.งานประจำ/งานนโยบาย
น.พ. ศิริวัฒน์ ทิยพ์ธราดล
แผนหลัก สรุปทิศทาง. สสส. เปรียบเสมือน “น้ำมันหล่อลื่น” ที่ช่วยให้ ฟันเฟืองของกลไกสร้างเสริมสุขภาพทำงาน อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด.
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
แผนส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค กลุ่มวัยผู้สูงอายุ 2557
โครงการ/กิจกรรมสำคัญในปี 2557 สิ่งที่ CUP/อำเภอดำเนินการ
เบาหวาน ผลิตโดย...กลุ่มงานสุขศึกษา โรงพยาบาลยะลา.
ทิศทาง การทำงาน๒๕๕๔ นพ.นิทัศน์ รายยวา 1.
ทางออกการจัดการปัญหา คนพิการเชิงรุก นพ. นิทัศน์ รายยวา ผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข เขต 10.
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
คลินิกผู้สูงอายุต้นแบบ (Geriatric Clinic Model) โรงพยาบาลอุดรธานี
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
ภาพฝัน ? การป้องกันควบคุมโรคในพื้นที่
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
แนวทางการดำเนินงานเกษตรกรปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข
นโยบายการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนขนาดเล็ก
นโยบายโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
แนวทางการปฏิบัติภารกิจ ของสถานีอนามัย
การจัดบริการสุขภาพ ผู้สูงอายุไทย
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
แนวทางการดำเนินงานผู้สูงอายุจังหวัดเชียงใหม่ ปี 2556
เพิ่มภาพ แผนที่ตำบล หรือภาพกิจกรรมชมรมสูงอายุในพื้นที่
นพ.นิทัศน์ รายยวา 3 ตุลาคม 2556
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
องค์ประกอบและระยะเวลาที่ เปลี่ยนแปลง  จากมีวาระ 2 ปี เป็น 4 ปี  เพิ่ม ผู้แทนหน่วยรับเรื่องร้องเรียน อิสระ หรือศูนย์ประสานงานภาค ประชาชน หรือองค์กรเอกชนด้าน.
สรุปโครงการอบรมพัฒนาศักยภาพ อสม.ปี 2550
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ การป้องกันและปราบปรามยาเสพติด (ก่อนและหลัง การประกาศสงครามขั้นแตกหักเพื่อเอาชนะยาเสพติด) พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติ
การพัฒนางานสุขภาพจิต วัยทำงาน - สูงอายุ
การจัดการด้านสุขภาพของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สู่เมืองไทยแข็งแรง รัฐบาลได้ประกาศให้ “ เมืองไทยแข็งแรง ” โดยกำหนด เป้าหมายให้คนไทยแข็งแรงถ้วน หน้า ในปี
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
ณัชช์ธรณ์ หอมกลิ่นเทียน
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
SAR2011 ข้อ III 4.3 ฉ : การฟื้นฟูสภาพ
การสร้างความเข้มแข็ง ให้แก่ผู้สูงอายุ
โครงการลดความแออัดของผู้รับบริการผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลชลบุรี
Company LOGO รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ศ. นพ. รัชตะ รัชตะนาวิน 20 ตุลาคม 2557.
“สังคมคุณภาพเพื่อผู้สูงอายุ”
ยุทธศาสตร์การพัฒนารพ. สต. แบบบูรณาการจังหวัดแพร่ ประจำปีพ. ศ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทบาท/บริบทของสถานบริการ ในการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว พญ.สิรินทร ฉันศิริกาญจน หน่วยเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ ภาควิชาอายุรศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี

บทบาทของสถานบริการ ในการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว บทบาทของสถานบริการ ในการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว ลักษณะปัญหาของผู้สูงอายุไทย ลักษณะของผู้สูงอายุ เป้าหมายการดูแลผู้สูงอายุและแผนการดูแล สิ่งที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน สิ่งที่ยังขาดและจะต้องพัฒนาอย่างเร่งด่วน การสร้างเสริมสุขภาพและการป้องกันโรค แนวทางการคัดกรองและตรวจเช็คสุขภาพ การประเมินผู้สูงอายุครบวงจร คลินก ผสอ ในโรงพยาบาลตติยภูมิและโรงเรียนแพทย์

ปัญหาของผู้สูงอายุ มีปัญหาสุขภาพ ยิ่งสูงวัยยิ่งแย่ ทุพพลภาพ และพึ่งพิง มีปัญหาสุขภาพ ยิ่งสูงวัยยิ่งแย่ ทุพพลภาพ และพึ่งพิง ยากจน ถูกเอาเปรียบ ทั้งนอกบ้านและในบ้าน อยู่ตามลำพัง หรือเป็นที่พึ่งพิงของหลาน ๆ (เสาหลักผุ ๆ ไม้หลักปักเลน) สิ่งแวดล้อมไม่เอื้ออำนวยให้ใช้ศักยภาพที่มีอยู่อย่างเหมาะสม

ลักษณะเฉพาะของ ผู้สูงอายุ

Characteristics of Aging Patients Physiologic functions diminished Accumulation of life’s stresses, diseases, and environmental hazards “ Classic ” signs and symptoms of disease possibly absent, delayed, or altered

Characteristics of Aging Patients Service/21_3_46 Characteristics of Aging Patients Physical disease may present as psychiatric syndrome Psychiatric illness may present as a medical complaint Multiple medical, psychiatric, and social problems in the same patient Drug effects more pronounced and adverse reactions more common Geriatric Medicine

นโยบายและการดูแลผู้สูงอายุ ผู้สูงอายุวัยต่าง ๆ รุ่นเยาว์ 60-75 ปี รุ่นกลาง 75-85 ปี รุ่นใหญ่ > 85 ปี

แบ่งตามการพึ่งพาผู้สูงอายุ ไม่ต้องพึ่งพาเลย – totally independence พึ่งพาบางส่วน – partially dependence พึ่งพาทั้งหมด – totally dependence ติดเตียง – bed ridden

แบ่งตามภาวะสุขภาพ มีโรคเรื้อรังและ/หรือมีภาวะทุพพลภาพ สุขภาพดี มีโรคเรื้อรังและ/หรือมีภาวะทุพพลภาพ หง่อม/งอม/บอบบาง/frail elderly

พึ่งตัวเอง (โรคเรื้อรัง) ลักษณะผู้สูงอายุ พึ่งตนเอง แข็งแรง พึ่งตัวเอง (โรคเรื้อรัง) แต่มีข้อจำกัด เป็นที่พึ่ง เจ็บป่วย บางส่วน ทั้งหมด ตาย พึ่งพา

ครอบครัวคุณลุงแสง อยู่กับภรรยาคุณป้าแจ่มใส เพิ่งเกษียณ ข้าราชการครู และเจ้าหน้าที่ธนาคาร มาปลูกบ้านอยู่ที่แจ้ห่มช่วยเหลือตัวเองได้ทั้งคู่ คุณลุงแสงเป็นความดันโลหิตสูงมานานแล้ว คุมความดันได้ประมาณ 140-150/90 มม.ปรอท คุณป้าแจ่มใสมีไขมันในเลือดสูงบ้าง ไม่ได้กินยา ระวังเรื่องอาหาร

เป้าหมายการดูแลผู้สูงอายุ เพื่อคงความมีสุขภาพดี ค้นพบโรค (กาย/ใจ) ในระยะแรก รักษาถูกต้องทันเวลา ฟื้นฟูสภาพอย่างเหมาะสม ให้สามารถพึ่งพาตนเองได้มากที่สุด โดยมีคุณภาพชีวิตที่ดีแม้จะมีโรคเรื้อรัง ให้การดูแลระยะสุดท้ายเพื่อการจากไปอย่างสมศักดิ์ศรี

ทั้งสองคนต้องได้รับการดูแลระยะยาวจากสถานพยาบาลระดับปฐมภูมิอย่างไรบ้าง Health maintenance ควรจะต้องทำอะไร หรือแนะนำเรื่องอะไร Early detection of disease/problem and disease prevention ปัญหาอะไร โรคอะไรที่ต้องคอยมองหาเพราะคาดว่าต้องมาแน่ ๆ ช้าหรือเร็ว และต้องให้การป้องกันโรคอะไรบ้าง

อยู่มาหลายปีอย่างมีความสุข 72 แล้วแต่ยังกระฉับกระเฉง จะต้องมา FU ที่โรงพยาบาลตามนัดแต่กลับไม่มาทั้งคู่ ผิดปกติมาก ๆ ตามไปดูที่บ้านอีก 2 วันต่อมา พบเป็นไข้หวัดใหญ่พร้อมกัน ไข้สูง ไอมาก นอนซม

คุณบุญส่ง 62 ปี ลูกเพิ่งไปรับมาจากกรุงเทพ เพราะเป็นลมหน้ามืดและแขนขาอ่อนแรง ออกจากโรงพยาบาลแล้วแต่ยังเดินไม่ค่อยสะดวก ต้องใช้ walker ที่บ้านกรุงเทพอยู่กับลูกชายคนเล็ก ทำงานแต่เช้ากลับดึก ม..า...ก Underlying DM, HT,BPH ประวัติส่วนตัว เลิกสูบบุหรี่ตอนเข้าโรงพยาบาล ประวัติครอบครัว พ่อเป็นมะเร็งลำไส้ใหญ่ พี่ชายเป็นไวรัสตับอักเสบบีแล้วกลายเป็นมะเร็ง ตายไปแล้ว 2 ปี

Long Term Care Assisting living facilities Nursing-home care Continuous caring for person from adulthood through end of life aims to maximize their capacities to live with quality of life….home-based with their family supported by the community

Long Term Care For all people who are already older person or suspected to be in the future Older person are heterogeneous: active or functional aging disable and dependence rich and poor educated and noneducated

ปัญหาและโรคที่พบบ่อย ความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ ตา - ต้อกระจก ต้อหิน หูตึง นอนไม่หลับ

ปัญหาและโรคที่พบบ่อย หลงลืม หลง การเคลื่อนไหวผิดปกติ (โรคพาร์กินสัน) เวียน มึนศรีษะ การทรงตัวไม่ดี

ปัญหาและโรคที่พบบ่อย Service/21_3_46 ปัญหาและโรคที่พบบ่อย ปวด - หลัง เอว - ปวดข้อ ข้อเสื่อม เบาหวาน กระดูกพรุน มะเร็ง

ปัญหาและโรคที่พบบ่อย Service/21_3_46 ปัญหาและโรคที่พบบ่อย การขับถ่าย - อุจจาระ ปัสสาวะ ไขมันในเลือดสูง ขาดอาหาร / ขาดสารอาหาร ซีด

ร้อยละของสาเหตุ ที่ทำให้เกิด ภาวะทุพพลภาพใน ผู้สูงอายุไทย ร้อยละของสาเหตุ ที่ทำให้เกิด ภาวะทุพพลภาพใน ผู้สูงอายุไทย

1 9 2 3 1 8 4 6 7 2 7 8 3 9 6 5 แขนขาอ่อนแรง ความผิดรูปของแขนขา การตัดแขนขา สมองเสื่อม โรคจิต ตาบอดข้างเดียว ตาบอดสองข้าง หูพิการ หูหนวก 1 2 3 4 6 7 8 9

ลำดับของโรคและภาวะบกพร่องที่น่าจะเป็น สาเหตุของภาวะทุพพลภาพ ลำดับที่ โรคและภาวะบกพร่อง Population AR** Per 1,000 1 อุบัติเหตุ 217.2 2 อัมพาตครึ่งซีก 190.7 3 โรคตา 182.9 4 ปวดเข่า – เข่าอักเสบ 179.9 5 ความดันโลหิตสูง 166.0 6 แขนขาอ่อนแรง 153.2 7 หูหนวกหูตึง 115.1 8 ตาบอด (ข้างเดียวและสองข้าง) 94.9 9 กระดูกสันหลัง (คดงอ) 60.9

ลำดับของโรคและภาวะบกพร่องที่น่าจะเป็น สาเหตุของภาวะทุพพลภาพ ลำดับที่ โรคและภาวะบกพร่อง Population AR** Per 1,000 10 เบาหวาน 72.6 11 กลุ่มสมองเสื่อม 62.8 12 โรคหัวใจ (อื่น ๆ) 54.5 13 แขนขาเหยียดงอไม่ได้ 51.2 14 โรคหลอดเลือดหัวใจ 34.8 15 โรคไต 20.8 16 ชัก 14.3 17 นิ้วมือนิ้วเท้าขาดด้วน 13.4 18 แขนขาขาดด้วน 9.7

พันธะกิจของสถานบริการแต่ละระดับ สถานีอนามัย โรงพยาบาลชุมชน โรงพยาบาลจังหวัด การดูแลทุติยภูมิ โรงพยาบาลศูนย์ การดูแลตติยภูมิ การดูแลปฐมภูมิ

โรงพยาบาลชุมชน / ทั่วไป ดูแลในชุมชน สถานพยาบาล สูงอายุสุขภาพดี เจ็บป่วยเล็กน้อย เฉียบพลัน ฟื้นหาย โรงพยาบาลชุมชน / ทั่วไป ที่มีศักยภาพในการ ดูแลผู้สูงอายุ โดยทีมสหสาขาวิชา เจ็บป่วยเรื้อรัง ทุพพลภาพ ระยะสุดท้าย

ครอบครัวคุณรุ่งอรุณ ในบ้านมีสมาชิก 4 คน อายุน้อยที่สุด หญิง 72 ปี อยู่กับสามี 85 ปี อัมพาต ติดเตียง มารดา 102 ปี สมองเสื่อม เดินพอได้ แต่วุ่นวาย น้า 98 ปี เริ่มหลง ๆ พอมีเงินใช้บ้างลูกส่งให้ ลูกแยกครอบครัว ไปหมด

ครอบครัวคุณดวงจันทร์ อยู่กัน 3 คน ผู้หญิง ทั้งหมด อายุ 8 ปี , 35 ปี และ 70 ปี คุณดวงจันทร์ เลิกกับสามี กลับมาอยู่กับแม่อายุ 70 ปี เดิมแม่พอช่วยตัวเองได้ ตอนเย็นเดินไปรับ หลานจากโรงเรียนและดูแลที่บ้าน ต่อมาแม่หกล้ม กระดูกต้นขาหักไม่ยอมผ่าตัด เดินไม่ได้

สิ่งจำเป็นสำหรับการดูแลผู้สูงอายุ การพัฒนาและสนับสนุนการดูแลและบริการผู้สูงอายุที่บ้าน/ชุมชน การพัฒนาระบบการดูแลปฐมภูมิโดยผู้สูงอายุมีส่วนร่วม การดูแลรักษาเมื่อเจ็บป่วยเฉียบพลัน การพัฒนาระบบการดูแลและส่งต่อที่มีประสิทธิภาพ การพัฒนาระบบบริการสุขภาพสำหรับผู้สูงอายุเจ็บป่วยเรื้อรังที่ครอบคลุมการดูแลแบบองค์รวม การพัฒนาศักยภาพด้านการประสานงานระหว่างบุคลากรที่ให้บริการทางสุขภาพและบุคลากรที่ให้บริการทางสังคม การพัฒนาศักยภาพของชมรมผู้สูงอายุ อาสาสมัคร ระบบครอบครัว และประชากร

ระบบบริการและสงเคราะห์ที่มีอยู่ ด้านการรักษาพยาบาล เจ็บป่วยเฉียบพลัน ด้านสังคม บ้านพักคนชรา เบี้ยยังชีพ

หลักประกันทางสังคม เศรษฐกิจ – รายได้ สังคม / การดูแล สิ่งแวดล้อม ทรัพยากร

Integration of health & social care

การจัดบริการสุขภาพ และการสนับสนุนทางสังคม ต้องควบคู่กันไป ระบบทางสังคม การบริการ ด้านสุขภาพ เจ็บป่วยเฉียบพลัน ทุพพลภาพ ตาย ? ที่ไหน การจัดบริการสุขภาพ และการสนับสนุนทางสังคม ต้องควบคู่กันไป

การจัดรูปแบบบริการด้านสุขภาพ และการสนับสนุนทางสังคม หลักการ(1) ให้มีการบริการแบบบูรณาการ เชิงรุกโดยเน้นครอบครัวและชุมชนเป็นฐานสำหรับผู้สูงอายุทุกคน เน้นระบบการดูแลต่อเนื่องทุกมิติของการดูแลสุขภาพ - การสร้างเสริมสุขภาพ - การป้องกันโรคและการคัดกรอง - การดูแลรักษาโรคและความเจ็บป่วย - การฟื้นฟูสภาพ - การดูแลระยะสุดท้าย

การจัดรูปแบบบริการด้านสุขภาพ และการสนับสนุนทางสังคม หลักการ (2) ผู้สูงอายุและครอบครัวสามารถเข้าถึงบริการที่จัดไว้ จัดการสนับสนุนทางสังคม(social support)ให้สอดประสานเพื่อพัฒนาสุขภาพผู้สูงอายุ โดยบุคลากรทุกระดับการฝึกอบรมเฉพาะทางด้านผู้สูงอายุ(เกณฑ์มาตราฐานขั้นต่ำ)

และการสนับสนุนทางสังคม ระบบ/รูปแบบการบริการ บริการสุขภาพ และการสนับสนุนทางสังคม สุขภาพดี ระบบ/รูปแบบการบริการ การสนับสนุนทางสังคม การคงภาวะสุขภาพ การสร้างเสริมสุขภาพและการป้องกันโรค การคัดกรองและค้นพบโรคในระยะต้นและดูแลรักษาที่เหมาะสม ศูนย์บริการสุขภาพชุมชน คลินิกผู้สูงอายุ - สุขภาพดี - เจ็บป่วย ลานสุขภาพ ชมรมผู้สูงอายุ ศูนย์เอนกประสงค์เพื่อผู้สูงอายุ ศูนย์ดูแลกลางวัน : ทั่วไป สมองเสื่อมและอัมพาต

และการสนับสนุนทางสังคม ระบบ/รูปแบบการบริการ บริการสุขภาพ และการสนับสนุนทางสังคม ภาวะสุขภาพไม่ดี ระบบ/รูปแบบการบริการ การสนับสนุนทางสังคม เจ็บป่วย โรงพยาบาล - การดูแลระยะเฉียบพลัน - การดูแลระยะสั้น เครือข่ายการ ดุแลต่อเนื่อง ที่พักชั่วคราว ฟื้นหาย การดูแลต่อเนื่อง ฟื้นฟูสภาพ

และการสนับสนุนทางสังคม ระบบ/รูปแบบการบริการ บริการสุขภาพ และการสนับสนุนทางสังคม ภาวะสุขภาพไม่ดี ระบบ/รูปแบบการบริการ การสนับสนุนทางสังคม เจ็บป่วยเรื้อรัง พิการ / ทุพพลภาพ บริการฟื้นฟูสภาพ การคงภาวะสุขภาพ โรงพยาบาลกลางวัน เครือข่ายการดูแลต่อเนื่อง (สนับสนุนครอบครัวและชุมชน) บริการการดูแลสุขภาพที่บ้าน / การดูแลสุขภาพที่บ้าน สถานสงเคราะห์ (กรณีไม่มีผู้ดูแล) ระยะสุดท้าย บ้าน ศูนย์ดูแลเฉพาะ (Hospice)

การดำเนินการ การจัดรูปแบบบริการด้านสุขภาพ และการดูแลผู้สูงอายุ 1. การสร้างเสริมครอบครัวให้เข้มแข็ง - เงิน ทั้งครอบครัวและผู้สูงอายุ - ความรู้ของผู้แล - ทัศนคติต่อการดูแลผู้สูงอายุ - การสนับสนุนจากท้องถิ่นและชุมชน

การดำเนินการ การจัดรูปแบบบริการด้านสุขภาพ และการดูแลผู้สูงอายุ (ต่อ) 2. สนับสนุนศักยภาพผู้สูงอายุและการดูแลต่อเนื่องทั้งในแง่ระบบและผู้ดูแล - การเตรียมการก่อนสู่วัยสูงวัยทุกด้าน - เพิ่มศักยภาพของผู้สูงอายุและครอบครัว ด้านเศรษฐกิจ ความรู้ และกิจกรรมทางสังคม - จัดบริการสุขภาพและบริการสังคมเอื้อให้ผู้สูงอายุอยู่ในบ้านและเกื้อกูลจากชุมชน โดยมีการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบของเจ้าหน้าที่ในชุมชนให้ชัดเจน

การดำเนินการ การจัดรูปแบบบริการด้านสุขภาพ และการดูแลผู้สูงอายุ(ต่อ) - มีแผนการผลิตและพัฒนากำลังคนด้านการดูแลผู้สูงอายุทุกระดับโดยรัฐผลิตเองหรือเป็นผู้กำกับดูแล มีระบบการดูแลปฐมภูมิในชุมชน ครอบคลุม และสอดคล้องกับปัญหาตลอดช่วงชีวิต รวมทั้งมีระบบส่งต่อที่เหมาะสม จัดระบบบริการให้เข้าถึงได้โดยง่ายหรือมีระบบบริการเชิงรุกเข้าถึงผู้สูงอายุและผู้ดูแล มีระบบดูแลผู้ดูแลโดยเฉพาะในกลุ่มที่เสี่ยงต่อการมีปัญหาตามมาเช่น ผู้ดูแลที่สูงอายุ กลุ่มที่มีภาระหน้าที่มากมาย หรือกลุ่มที่ต้องดูแลผู้ที่มีปัญหาซับซ้อนเช่นผู้ป่วยสมองเสื่อม

การดำเนินการ การจัดรูปแบบบริการด้านสุขภาพ และการดูแลผู้สูงอายุ(ต่อ) 3. นโยบายชุมชนเข้มแข็ง ข้อมูลผู้สูงอายุ กำหนดกลุ่มเสี่ยงในแง่มุมต่างๆ กองทุนสนับสนุนการดูแล การบริการสุขภาพและสังคมเพื่อผู้สูงอายุและผู้ดูแล มีการพัฒนา / ช่วยเหลือด้านอาชีพและรายได้แก่ครอบครัวและผู้สูงอายุให้คงศักยภาพที่จะดูแลตนเองในครอบครัว มีบุคคล / คณะกรรมการรับผิดชอบการดำเนินการต่างๆ รวมทั้งกำกับดูแล

การดำเนินการ การจัดรูปแบบบริการด้านสุขภาพ และการดูแลผู้สูงอายุ(ต่อ) 3. นโยบายชุมชนเข้มแข็ง (ต่อ) สนับสนุนและกำกับดูแลงานบริการทางสุขภาพและสังคมให้สอดคล้องกับความต้องการ พัฒนาแหล่งข้อมูลข่าวสาร และการศึกษาเรียนรู้ตลอดชีวิต (ศูนย์เอนกประสงค์เพื่อผู้สูงอายุและครอบครัว)

การดำเนินการ การจัดรูปแบบบริการด้านสุขภาพ และการดูแลผู้สูงอายุ(ต่อ) 4. การจัดบริการเฉพาะในกลุ่มด้อยโอกาสโดยชุมชน อาทิเช่น การบริการด้านอาหาร (ธนาคารอาหาร/การจัดส่งอาหาร) ครอบครัวอุปถัมภ์ หรือการดูแลโดยเพื่อนบ้านหรือชุมชน ยานพาหนะ การปรับลักษณะที่อยู่อาศัย อุปกรณ์เสริม / เฉพาะช่วยในการดูแล

ทำอย่างไร รัฐบาล ภาครัฐ ที่เกี่ยวข้อง ประชาชน นโยบาย งบประมาณ เตรียมแผน เตรียมคน ประสานงาน ประสานใจ แล้วไปด้วยกัน ประชาชน เตรียมตัว ใจ เงิน บ้าน กัลยาณมิตร

Who will care for aging female?

Thank you