เรื่อง เครือข่าย คอมพิวเตอร์.  คือการส่งข่าวสารหรือเรื่องราวที่มีความหมายจาก บุคคลฝ่ายหนึ่งที่เรียกว่า ผู้ส่ง ไปยังบุคคลอีกฝ่าย หนึ่งที่เรียกว่า ผู้รับ.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
และเครือข่ายคอมพิวเตอร์
Advertisements

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์
รายละเอียดวิชา ง การงานพื้นฐาน4(คอมพิวเตอร์2)
กลุ่มสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี โรงเรียนมัธยมวานรนิวาส
องค์ประกอบของสำนักงานสมัยใหม่
แนะนำรายวิชา GED40003 คอมพิวเตอร์กับชีวิต
กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
คลิก เข้าสู่การเรียนรู้
05/06/54 วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ เรื่องความหมายและองค์ประกอบของระบบสื่อสารข้อมูล.
   ฮาร์ดแวร์ (Hardware)               ฮาร์ดแวร์เป็นองค์ประกอบสำคัญของระบบสารสนเทศ หมายถึง เครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์รอบข้าง รวมทั้งอุปกรณ์สื่อสารสำหรับเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์เข้าเป็นเครือข่าย.
ระบบการสื่อสารข้อมูล
แบบทดสอบหน่วยที่ 1 เทคโนโลยีสื่อประสม
ขอบเขตของเทคโนโลยีสารสนเทศ
COMPUTER.
การสื่อสารข้อมูล.
แบบทดสอบ วิชา คอมพิวเตอร์ บทที่ 3
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยี 3G. เทคโนโลยี 3G เทคโนโลยี 3G เทคโนโลยี 3G คืออะไร 3G หรือ Third Generation เป็นเทคโนโลยีการสื่อสารในยุคที่ 3 อุปกรณ์การสื่อสารยุคที่ 3 เป็นอุปกรณ์ที่ผสมผสาน.
บทบาทของการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
บทนำ การเขียนโปรแกรมภาษาซี
ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทบาทของคอมพิวเตอร์ และ ผลกระทบของคอมพิวเตอร์กับสังคม
Telecom. & Data Communications
ระบบสารสนเทศ เพื่อการจัดการ และกรณีศึกษา
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ.
อินเตอร์เน็ทเบื้องต้น
Multimedia และระบบความจริงเสมือน Virtual Reality, VR
การเขียนโปรแกรมบนเว็บ (WEB PROGRAMMING) บทที่ 1 ความรู้เบื้งต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตเวิลด์ไวด์เว็บ และโปรโตคอลที่เกี่ยวข้อง โดย อ.ปริญญา น้อยดอนไพร.
บทที่ 1 พื้นฐานการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย (Fundamental of Data Communications and Networks) อ.ถนอม ห่อวงศ์สกุล.
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการค้นคว้า
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีสารสนเทศ เทคโนโลยี + สารสนเทศ.
สภาวะแวดล้อมของธุรกิจ
คอมพิวเตอร์เน็ตเวริ์คเบื้องต้น การจัดการระบบสารสนเทศ
บทบาทการบริหารงานสำนักงาน 1
ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ใบความรู้ เรื่อง สื่อสารสนเทศในแบบต่างๆ
เทคโนโลยีสารสนเทศเบื้องต้น
มัลติมีเดีย ประกอบประมวลสาระ
กิจกรรมที่ 2 ซอฟต์แวร์ประยุกต์
เรื่องเครือข่ายคอมพิวเตอร์
พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ E-Commerce
องค์ประกอบของระบบเครือข่าย
ระบบการสื่อสารข้อมูล 3(2-2) นก. (Computer Network System) โดย อ.สมบูรณ์ ภู่พงศกร Chapter 1 Introduction.
โรงเรียนเทศบาล ๕ (วัดหาดใหญ่)
บทเรียนคอมพิวเตอร์ เรื่อง การใช้งานบน Internet.
การนำระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมาสนับสนุนการทำงาน
โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ในการประมวลผลข้อมูล
ซอฟต์แวร์.
เทคโนโลยีสารสนเทศเบื้องต้น
รูปแบบการส่งสัญญาณข้อมูล
พนธกร หาดี (ptk.toomyai.ac.th) 1 ง หน่วยการเรียนรู้ที่ 5.
Information Technology : IT
งานเทคโนโลยีสารสนเทศ โรงเรียนพนมเบญจา
รูปร่างเครือข่ายคอมพิวเตอร์ จัดทำโดย เด็กชาย คณิศร อ้อยกลาง เลขที่ 36 ม.2/5 เสนอ อ.สายฝน เอกกันทา โรงเรียนจักรคำคณาทร จ.ลำพูน.
Software ซอฟต์แวร์.
การจัดการศึกษาต้องยึดหลักว่าผู้เรียน ทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และ พัฒนาตนเองได้และถือว่าผู้เรียนมี ความสำคัญที่สุด ดังนั้นในการจัดการ เรียนรู้และการดูแลช่วยเหลือพัฒนาผู้เรียนที่
CC212 Internet Technology : Network Technology :
บทบาทและประโยชน์ของคอมพิวเตอร์ จัดทำโดย ๑
นางสาววราภรณ์ จันปัญญา สาธารณสุขชุมชน 1 รหัส
บทที่ 9 ซอฟต์แวร์ประยุกต์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต
งานสำนักงาน หน่วยการเรียนรู้ที่ 3.
บทบาทของคอมพิวเตอร์.
การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
คำศัพท์ระบบอินเตอร์เน็ต
* ความหมายของระบบ เครือข่าย ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Computer Network) หมายถึงการ นำเครื่องคอมพิวเตอร์ มาเชื่อมต่อเข้า ด้วยกัน โดยอาศัยช่องทางการสื่อสาร.
นางเชาวลี สมบูรณ์ดำรงกุล
การสื่อสาร ข้อมูล (Data Communication) การสื่อสารข้อมูล (Data Communications) กระบวนการถ่ายโอนหรือ แลกเปลี่ยนข้อมูลกันระหว่างผู้ส่ง และผู้รับ โดยผ่านช่องทางสื่อสาร.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เรื่อง เครือข่าย คอมพิวเตอร์

 คือการส่งข่าวสารหรือเรื่องราวที่มีความหมายจาก บุคคลฝ่ายหนึ่งที่เรียกว่า ผู้ส่ง ไปยังบุคคลอีกฝ่าย หนึ่งที่เรียกว่า ผู้รับ สิ่งเรียกว่า เป็นข่าวสารหรือ เรื่องราวนั้นอาจมีรูปแบบหลายอย่าง เช่น จดหมาย เป็นการสื่อสารด้วยข้อความ โทรศัพท์เป็นการสื่อสาร ด้วยเสียง โทรทัศน์เป็นการสื่อสารด้วยเสียงและ ภาพเคลื่อนไหว เป็นต้น

 เครือข่ายสื่อสารที่เล็กที่สุด จะต้องมีจุดรับส่งอย่าง น้อย 3 จุด ถ้ามีเพียง 2 ชุด ยังไม่เรียกว่าเป็นเครือข่าย แต่เรียกว่าการต่อสายตรง การเชื่อมต่อระหว่างจุดต่าง ๆ ในเครือข่ายให้ทั่วถึงโดยตรง ( หมายถึงแต่ละจุด ต้องเชื่อมต่อกันกับจุดอื่น ๆ โดยตรงทุกจุด ซึ่งทำให้ สูญเสียทรัพยากร )  อย่างไรก็ตาม การต่อเชื่อมเครือข่ายไม่จำเป็นต้อง ต่อเชื่อมแบบทั่งถึงกันโดยตรงเสมอไป

 องค์ประกอบพื้นฐานของระบบสื่อสารข้อมูล  ระบบสื่อสารข้อมูลมีองค์ประกอบพื้นฐาน คือ  1. อุปกรณ์ส่งข้อมูล (Sender) เป็นฮาร์ดแวร์คอมพิวเตอร์ พร้อมอุปกรณ์ต่อเชื่อมที่อยู่ด้านต้นทางหรือผู้ส่ง  2. อุปกรณ์รับข้อมูล (Receiver) เป็นฮาร์ดแวร์คอมพิวเตอร์ พร้อมอุปกรณ์ต่อเชื่อมที่อยู่ปลายทางหรือผู้รับ  3. เกณฑ์วิธีหรือโพรโตคอล (Protocol) คือ กฎ ระเบียบ หรือวิธีการที่ใช้เป็นข้อกำหนดในการสื่อสาร  4. ซอฟต์แวร์ (Software) คือ ซอฟต์แวร์ระบบปฏิบัติการ หรือซอฟต์แวร์พิเศษ ซึ่งมีความสามารถในการรับส่งข้อมูลได้ ด้วย  5. ข่าวสาร (Massage) คือ เรื่องราวที่มีความหมายที่ผู้ส่ง ต้องการสื่อไปยังผู้รับ  6. ตัวกลาง (Media) คือ สายไฟฟ้าหรือใยแก้วนำแสง หรือ คลื่นวิทยุ หรือลำแสงซึ่งทำหน้าที่พาข้อมูลข่าวสารจากต้นทาง ไปยังปลายทาง

 ยุคแรก ๆ คอมพิวเตอร์แยกกันทำงานโดยลำพัง หมายความว่านั้นองค์การ สมมุติเช่น โรงเรียนมี ทั้งหมด 5 ฝ่าย คือ ฝ่ายทะเบียน ฝ่ายวิชาการ ฝ่าย การเงิน ฝ่ายปกครอง ฝ่ายบริหาร ดังนั้นในการทำงาน แต่ละฝ่ายจำเป็นต้องมีเครื่องคอมพิวเตอร์และ เครื่องพิมพ์ ซึ่งให้ต้องใช้งบประมาณจำนวนมากใน การจัดซื้ออุปกรณ์คอมพิวเตอร์ เพราะต้องใช้ทั้ง เครื่องคอมพิวเตอร์และเครื่องพิมพ์

 1. ประโยชน์ด้านการศึกษา ใช้เพื่องานด้านการเรียนการสอนใน หลายรูปแบบ เช่นการ  นำบทเรียน การผลิตสื่อการสอน การใช้ซีดีรอมสำหรับการเรียนรู้ เกมเพื่อการศึกษาหรือ คอมพิวเตอร์ช่วยสอน  2. ด้านความบันเทิง เป็นการใช้คอมพิวเตอร์เพื่อความสนุกสนาน บันเทิง เช่น เล่นเกม ฟังเพลงชมภาพยนต์  3. ด้านการเงิน การธนาคาร ใช้ในการเบิก - ถอนเงินผ่านเครื่อง ATM การโอนเงินด้วย ระบบด้วยอัตโนมัติโดยโอนเงินจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่งโดย ผ่านระบบเครือข่าย

 4. ด้านการสื่อสารและคมนาคม ใช้ในการติดต่อสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ต สื่อสาร ถ่ายทอดผ่านดาวเทียมการติดต่อสื่อสารผ่านโทรศัพท์ การคมนาคมทางเรือ เครื่องบิน และรถไฟฟ้า  5. ด้านศิลปะและการออกแบบ เป็นการใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการวาดรูปการ์ตูน ออกแบบ งานและการสร้างภาพกราฟิกหรือการตกแต่งภาพในคอมพิวเตอร์  6. ด้านการแพทย์์ ปัจจุบันมีการนำคอมพิวเตอร์มาช่วยงานด้านการแพทย์หลายด้าน เช่น การเก็บประวัติคนไข้ การใช้ทดลองประกอบการวินิจฉันของแพทย์ใช้ใน การตรวจ เลือก ตรวจปัสสาวะ การผ่าตัดหัวใจการตรวจสอบห้องพักผู้ป่วยว่าว่างหรือไม่ การ ควบคุมแสงเลเซอร์การเอ็กซ์เรย์ การตรวจคลื่อนสมองคลื่นหัวใจ เป็นต้น

 7. ด้านวิทยาศาสตร์และเคมี ใช้ในการวิเคราะห์สูตร ทางเคมีการคำนวณสูตรทาง วิทยาศาสตร์การค้นคว้าทดลองในห้อง วิทยาศาสตร์ การคำนวณเกี่ยวกับ ระบบสุริยะจักรวาลและการเกิดปรากฏการณ์ เกี่ยวกับดวงดาวต่างๆ