วิวัฒนาการของพะยูน.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
นกในประเทศไทย จัดทำโดย ด.ช.ธีรวุฒิ เนียมคุ้ม ชั้น ม. 2/1 เลขที่ 9.
Advertisements

ความหลากหลายของสัตว์
ด.ญ. วราภรณ์ พันธ์คำ เลขที่ 34 ด.ญ. ภาวินีย์ เค้ามูล เลขที่ 42
ด.ญ. วราภรณ์ พันธ์คำ เลขที่ 34 ด.ญ. ภาวินีย์ เค้ามูล เลขที่ 42
การเจริญเติบโตของมนุษย์
มวนแดงนุ่น Kapok bug Odontopus nigricornis Stal
การดูแลการเจริญ เติบโต ในวัยรุ่น
การปฏิสนธิ-ท้อง9เดือน
รายวิชา สุขศึกษา รหัสวิชา พ 31101
ข้อมูลเดือน ก.ค.๕๔ โดย เรือ ต.๙๕
การเพาะเลี้ยงกุ้งก้ามกราม
จัดทำโดย ด.ช.สมชาย คงดั่น 2/5.
ยินดีต้อนรับ สู่..ตึกโรคปอด.
การละลายของธารน้ำแข็งและภาวะน้ำท่วม
โดย มิสจารุวรรณ สัจจะวัฒนวิมล ม.นพดล ปัญญาดี
การเลี้ยงปลากะพงขาว.
ภาคใต้สมัยก่อนประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์และโบราณคดีภาคใต้
สำนักงานประมงจังหวัดประจวบคีรีขันธ์
การคัดเลือก “ควายงาม” ตามอุดมคติ หรืออุดมทัศนีย์ (Ideal type)
สิงโต ถิ่นกำเนิด    พบในทวีปอัฟริกา ในทีปเอเชียยังคงมีอยู่บ้างเช่นบางแห่งในประเทศ อินเดียแถบตะวันตก ลักษณะ    สิงโตอัฟริกา และสิงโตอินเดียไม่มีลักษณะที่แตกต่างกันไม่มีลายตามตัวอย่างเสือ.
เรื่อง สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
DNA สำคัญอย่างไร.
วิวัฒนาการของวาฬ Whale evolution.
วิวัฒนาการ เต่าทะเล.
วิวัฒนาการของม้า.
วิวัฒนาการของ แมลงปอ.
วิวัฒนาการ วิวัฒนาการของมนุษย์....
วิวัฒนาการของม้า.
EVOLUTION OF FROGS..
วิวัฒนาการของม้า.
วิวัฒนาการ ของแมลงวัน
สาขา วาริชศาสตร์ คณะ วิทยาศาสตร์
ทะเลแหวก แห่งอันดามัน
กระต่ายเนเธอร์แลนด์ ดวอร์ฟ
หมีขั้วโลก.
นางสาวจิตรลดาพร แพงดี คณะวิทยาศาสตร์ สาขาวาริชศาสตร์
เรื่อง เต่าทะเล (Sea Turtle)
จุดเริ่มต้นชีวิต การปฏิสนธิ การตั้งครรภ์ การคลอด
ดอกเข็ม Ixora chinensis lamk. ผู้จัดทำ นางสาว ทัศนีย์ เครือดวงคำ
การเลี้ยงปลาหางนกยูง
Next.
การเจริญเติบโตของร่างกาย
ครู สุนิสา เมืองมาน้อย
สัตว์มีกระดูกสันหลัง
8 พันธุ์หมูที่เลี้ยงง่าย
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
กล้วยไม้ ผู้จัดทำ 1. ด.ญ จิรสุดา ปักสำโรง ชั้น ป.4 เลขที่16
ด้วงกว่าง.
ดาวศุกร์ (Venus).
สถานที่น่าสนใจใน 10 ประเทศอาเซียน จัดทำโดย ด. ญ
ชื่อเรื่อง ผีเสื้อแสนสวยสายพันธุ์ต่างๆ จัดทำโดย ด. ญ
อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่
อาจารย์ ดลหทัย อินทร์จันทร์
ประเภทของมดน่ารู้.
การสืบพันธุ์ของมนุษย์ เป็นการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ
การเจริญเติบโตของร่างกาย
โรงเรียนจักรคำคณาทร จังหวัดลำพูน คุณครู อรอุมา พงค์ธัญญดิลก
สัตว์โลกดึกดำบรรพ์ ที่ยังมีชีวิตอยู่ถึงปัจจุบัน
เรื่อง บอนสี จัดทำโดย ด. ญ. อาทิตย์ยา ผูกพัน เลขที่ 21 ชั้น ม
จัดทำโดย ปฏิภาณ ไชยกุล อดิศร สุดดวง
ปลาหางนกยูง.
ด. ญ. ปวันรัตน์ ตันกาศ เลขที่ 20 ม.1/2 ถัดไ ป.  จากหลักฐานรูปปั้นแมว มัมมี่แมว และ ภาพเขียนผนังเกี่ยวกับแมวแล้ว เราเชื่อว่าได้ มีการ  เลี้ยงแมวในอียิปต์
Effect of Protein Level on Performance and Carcass Quality of Crossbred Pigs (50% Large White X 50% Wild Boar) อินทร์ ศาลางาม วัชรพงษ์ วัฒนกูล ธีระพล.
ด.ญ.พรพิมล เทพปันไหว ม1/2 เลขที่5
เรื่อง สัตว์ ถัดไป.
ด.ญ.พชร แสงศักดิ์ ม.1/2 เลขที่.4
ด.ช.สุรเวศม์ สุวรรณดำรงผล ม.1/2 เลขที่ 6
ชั้นม.1/4 เลขที่ 16 เสนอ อาจารย์ อรอุมา พงศ์ธัญญะดิลก โรงเรียน จักรคำคณาทร จังหวัด ลำพูน.
เรื่อง ปลากัด จัดทำโดย
ใบสำเนางานนำเสนอ:

วิวัฒนาการของพะยูน

พะยูนถูกศึกษาทางวิทยาศาสตร์ครั้งแรกในปี ค. ศ พะยูนถูกศึกษาทางวิทยาศาสตร์ครั้งแรกในปี ค.ศ. 1776 โดยได้ตัวอย่างต้นแบบจากที่จับได้จาก น่านน้ำแหลมกู๊ดโฮปถึงฟิลิปปินส์ เนื่องจากมีรูปร่าง คล้ายโลมาและวาฬ เดิมพะยูนจึงถูกจัดรวมอยู่ในอันดับ เดียวกันคือ Cetacea แต่จากการศึกษาลักษณะ โครงสร้างโดยละเอียดพบว่า มีความแตกต่างกันมาก กล่าวคือ มีขนาดเล็กกว่า หัวกลม รูจมูกแยกจากกัน ปากเล็ก มีฟันหน้าและฟันกรามพัฒนาดี ไม่เป็นฟัน ยอดแหลมธรรมดาเหมือน ๆ กันอย่างวาฬ และมีเส้น ขนที่ริมฝีปากตลอดชีวิต

ในปี ค.ศ. 1816 อองรี มารี ดูโครเตย์ เดอ แบล็งวีล นักวิทยาศาสตร์ชาวฝรั่งเศส ได้ทำการแยก ความแตกต่างระหว่างพะยูนกับโลมาและวาฬ ออกจาก กันและจัดพะยูนเข้าไว้ในกลุ่มสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมที่มีกีบ ในอันดับ Sirenia โดยนับว่าพะยูนมีบรรพบุรุษร่วมกัน กับช้างมาก่อน รวมถึงการศึกษาซากโบราณของพะยูน ในสกุล Eotheroides ในประเทศอียิปต์

พบว่ามีลักษณะบางอย่างเหมือนและใกล้เคียงกันกับ Moeritherium ซึ่งเป็นต้นตระกูลของช้างยุคอีโอซีน ตอนต้น หรือเมื่อประมาณ 40 ล้านปีมาแล้ว Eotheroides เป็นสัตว์มี 4 ขา มีฟันครบและอาศัยอยู่ ในน้ำ ต่อมามีวิวัฒนาการเพื่อให้อาศัยอยู่ในน้ำได้ดีขึ้น โดยที่ขาหลังจะลดขนาดลงและหายไปในที่สุด ส่วนขา หน้าจะเปลี่ยนแปลงไปมีลักษณะคล้ายใบพายเพื่อให้ เหมาะสมกับการว่ายน้ำ จากนั้นก็มีวิวัฒนาการมาเรื่อย ๆ จนกลายมาเป็นพะยูนในปัจจุบัน

ลักษณะและพฤติกรรม พะยูนมีรูปร่างคล้ายแมวน้ำขนาดใหญ่ที่อ้วนกลม เทอะทะ ครีบมีลักษะคล้ายใบพาย ซึ่งวิวัฒนาการมา จากขาหน้าใช้สำหรับพยุงตัวและขุดหาอาหาร ไม่มี ครีบหลัง ไม่มีใบหู ตามีขนาดเล็ก ริมฝีปากมีเส้นขน อยู่โดยรอบ ตัวผู้บางตัวเมื่อเข้าสู่วัยรุ่นจะมีฟันคู่หนึ่ง งอกออกจากปากคล้ายงาช้าง ใช้สำหรับต่อสู้เพื่อแย่งคู่ กับใช้ขุดหาอาหาร ในตัวเมียมีนมอยู่ 2 เต้า ขนาด เท่านิ้วก้อย ยาวประมาณ 2 เซนติเมตร อยู่ถัดลงมา จากขา คู่หน้า สำหรับเลี้ยงลูกอ่อน มีลำตัวและหาง คล้ายโลมา สีสันของลำตัวด้านหลังเป็นสีเทาดำ หายใจทางปอด จึงต้องหายใจบริเวณผิวน้ำ 1-2 นาที

บริเวณที่อยู่อาศัยของพะยูน

อายุ 9-10 ปี สามารถสืบพันธุ์ได้ เวลาท้อง 9-14 เดือน ปกติมีลูกได้ 1 ตัว ไม่เกิน 2 ตัว แรกเกิดยาว 1 เมตร หนัก 15-20 กิโลเมตร ใช้เวลาตั้งท้อง ประมาณ 1 ปี กินนมและหญ้าทะเลประมาณ 2-3 สัปดาห์ หย่านมประมาณ 8 เดือน อายุประมาณ 70 ปี โดยแม่พะยูนจะดูแลลูกไปจนโต ขนาดเมื่อโตเต็มที่ ประมาณ 2 เมตร ถึง 3 เมตร น้ำหนักเต็มที่ได้ถึง 300 กิโลกรัมพะยูนสามารถกลั้นหายใจใต้น้ำได้นานราว 20 นาที เมื่อจะนอนหลับพักผ่อน พะยูนจะทิ้งตัวลง ในแนวดิ่ง และนอนอยู่นิ่ง ๆ กับพื้นทะเลราว 20 นาที ก่อนจะขึ้นมาหายใจอีกครั้งหนึ่ง

อาหารของพะยูน ได้แก่ หญ้าทะเล ที่ขึ้นตาม แถบชายฝั่งและน้ำตื้น โดยพะยูนมักจะหากินในเวลา กลางวัน พฤติกรรมการหากินจะคล้ายกับหมู โดยจะ ใช้ครีบอกและปากดุนพื้นทรายไถไปเรื่อย ๆ จน บางครั้ง จะเห็นทางยาวตามชายหาด จากพฤติกรรม เช่นนี้ พะยูนจึงได้ชื่อเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า "หมูน้ำ" หรือ "หมูดุด" ในบางตัวที่เชื่องมนุษย์ อาจเกาะกินตะไคร่ บริเวณใต้ท้องเรือได้

คุณครูครูบรรจบ ธุปพงษ์ จัดทำโดย 1. นายอมรเทพ นิติสุนทรกุล เลขที่ 7 ก (Design PowerPoint) 2. นายธนพงษ์ ฉานุ เลขที่ 9 ก (หาข้อมูล) 3. นายชานนท์ ทรัพย์ประเสริฐ เลขที่ 3 ข (หาข้อมูล) 4. น.ส.กนกวรรณ พรหมรักษา เลขที่ 13 ข (พิสูจน์อักษร) 5. น.ส.รวิภา ไพบูลย์ เลขที่ 15 ข (หาภาพประกอบ) เสนอ คุณครูครูบรรจบ ธุปพงษ์

บรรณานุกรม http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%9E%E0%B8 %B0%E0%B8%A2%E0%B8%B9%E0%B8%99 http://worldwildlife.org/species/dugong