บทที่ 5 ระบบปฏิบัติการและ หลักการทำงานเบื้องต้น

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
Advertisements

เรื่อง ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
การงานอาชีพและเทคโนโลยี เรื่อง อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 3 ระบบคอมพิวเตอร์.
ระบบปฏิบัติการ (Operating System : OS )
โครงสร้างของระบบปฏิบัติการ Operating System Structure
ระบบมัลติโปรแกรมมิ่ง (Multiprogramming System)
โรงเรียนวัดสิตาราม สำนักงานเขตป้อมปราบศัตรูพ่าย กรุงเทพมหานคร
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
Software คือ ชุดคำสั่งหรือ ขั้นตอนการทำงานของคอมพิวเตอร์
   ฮาร์ดแวร์ (Hardware)               ฮาร์ดแวร์เป็นองค์ประกอบสำคัญของระบบสารสนเทศ หมายถึง เครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์รอบข้าง รวมทั้งอุปกรณ์สื่อสารสำหรับเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์เข้าเป็นเครือข่าย.
ระบบคอมพิวเตอร์ (Computer System)
เรื่อง องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์ จำทำโดย นาย เดชฤทธิ์ ร้อยพรหมมา
การเลือกซื้อสเปคคอม จัดทำโดย นาย ธนวัฒน์ แซ่ลิ้ม ม.4/2 เลขที่ 25
ความหมายของซอฟท์แวร์ (Software, Program)
การจัดการอุปกรณ์รับ และแสดงผล
ซอฟต์แวร์.
หลักการทำงานคอมพิวเตอร์
ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน ของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบพื้นฐาน ของโปรแกรม Visual Basic
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
หน่วยความจำ (Memory Unit)
เรื่อง การทำงานของคอมพิวเตอร์ สาระวิชา คอมพิวเตอร์ ช่วงชั้นที่ ๑
Operating System ฉ NASA 4.
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์
โครงสร้างการทำงานของ OS
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
ขั้นตอนการทำงานและอุปกรณ์คอมพิวเตอร์
เมนบอร์ด (mainboard). เมนบอร์ด (mainboard) Mainboard             Mainboard หรือ mother board ถือได้ว่าเป็นอุปกรณ์ชิ้นสำคัญไม่แพ้กับ CPU เพราะหน้าทีหลัก.
ส่วนประกอบ อุปกรณ์ และคุณสมบัติที่ดีของคอมพิวเตอร์
Charter 11 1 Chapter 11 ระบบปฏิบัติการ Operation System : OS.
องค์ประกอบทางด้านซอฟต์แวร์
เรื่ององค์ประกอบคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์ทำงานอย่างไร
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 1 ซอฟต์แวร์ระบบ จุดประสงค์ 1. บอกความหมายของซอฟต์แวร์
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ โรงเรียนชุมชนบ้านตาหลังใน จัดทำโดย เสนอ
วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ เรื่อง. หลักการทำงาน และ
ส่วนประกอบหลักของคอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์
ผู้จัดทำ นางสาว สุทธิดา แสงอุไร มัธยมศึกษาปีที่ 4/2 เลขที่ 27.
SPECK COMPUTER จัดทำโดย นางสาวแพรไหม หลวงสิงห์ไชย.
การทำงานของคอมพิวเตอร์
การจัดการฐานข้อมูล.
ผู้จัดทำ ด. ช. อดิรุจ อินต๊ะ เลขที่ 14 ด. ช. อดิรุจ ใจปาละ เลขที่ 15 ด. ญ. จินตพร กันทะ เลขที่ 23 ด. ญ. จิราภา สาทร เลขที่ 25 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/6.
กิจกรรมที่ 1 ซอฟต์แวร์ระบบ จุดประสงค์ 1. บอกความหมายของซอฟต์แวร์
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
อธิบายหลักการทำงาน บทบาท และประโยชน์ของคอมพิวเตอร์
การใช้ Task manager.
การออกแบบส่วนติดต่อกับผู้ใช้ User Interface Design
บทที่ 1 ระบบคอมพิวเตอร์.
หน้าที่และอุปกรณ์คอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ ระบบ (System) คือกลุ่มขององค์ประกอบที่มีความสัมพันธ์กันและทำงานร่วมกัน ซึ่งระบบคอมพิวเตอร์จะมีองค์ประกอบที่สำคัญ 3 ส่วน คือ ฮาร์ดแวร์ (Hardware)
วิชา การปฏิบัติการประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ (computer system)
บทที่ 5 ซอฟต์แวร์ระบบ.
แนะนำการเขียนโปรแกรมภาษา C Introduction to C Programming Language
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
การทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
หน่วยรับเข้า ทำหน้าที่รับข้อมูลจากผู้ใช้เข้าสู่หน่วยความจำหลัก ปัจจุบันมีสื่อต่าง ๆ ให้เลือกใช้ได้มากมาย แบ่งเป็นประเภทต่าง ๆ 1.แป้นพิมพ์ (Keyboard) 2.เมาส์
จัดทำโดย.... นางสาววริศรา ทาวรรณ์ เลขที่ 35 ชั้น ม.4/13
แผนภูมิองค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ซอฟต์แวร์ (software) จัดทำโดย นาย ยุทธพงศ์ คำยอง
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
จัดทำโดย นาย สุเมธ สุขพิทักษ์
ระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ Operating System
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 5 ระบบปฏิบัติการและ หลักการทำงานเบื้องต้น

ระบบปฏิบัติการคืออะไร ซอฟต์แวร์ชนิดหนึ่งที่ทำหน้าที่จัดการและควบคุมโปรแกรมรวมถึงการติดต่อประสานงานกับอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ที่เกี่ยวข้องเพื่อให้สามารถปฏิบัติงานได้ตามที่ผู้ใช้ต้องการบางครั้งเรียกว่า แพลตฟอร์ม (platform)

โปรแกรมประยุกต์กับการข้ามแพลตฟอร์ม

ไบออส (BIOS - Basic Input Output System) กลุ่มคำสั่งที่บรรจุอยู่ในส่วนของหน่วยความจำ ROM ตัวโปรแกรมคำสั่งที่เก็บไว้จะอยู่ได้อย่างถาวร ปัจจุบันอุปกรณ์ที่ใช้เก็บโปรแกรมไบออสจะเป็นวงจร หน่วยความจำแบบ Flash ROM ที่สามารถแก้ไข โปรแกรมได้ (แต่ไม่บ่อยนัก)

เริ่มต้นการทำงานของคอมพิวเตอร์ (Boot Up)

ประเภทของการบู๊ตเครื่อง การบู๊ตเครื่อง คือ ขั้นตอนที่คอมพิวเตอร์เริ่มทำการโหลด ระบบปฏิบัติการเข้าไปไว้ในหน่วยความจำ RAM สามารถแบ่งออกเป็น 2 ลักษณะด้วยกันคือ - โคลบู๊ต (Cold boot) - วอร์มบู๊ต (Warm boot)

การบู๊ตเครื่องที่อาศัยการทำงานของฮาร์ดแวร์ โคลบู๊ต (Cold boot) การบู๊ตเครื่องที่อาศัยการทำงานของฮาร์ดแวร์ กดปุ่มเปิดเครื่อง (Power On) เพื่อเข้าสู่กระบวนการทำงานโดยทันที ปุ่มเปิดเครื่องเป็นเหมือนสวิตช์ปิดเปิดการทำงานโดยรวมของคอมพิวเตอร์เหมือนกับสวิตช์ของอุปกรณ์ไฟฟ้าทั่วไป

วอร์มบู๊ต (Warm boot) การบู๊ตเครื่องเพื่อให้เกิดกระบวนการบู๊ตใหม่หรือที่เรียกว่าการรีสตาร์ทเครื่อง (restart) สามารถทำได้สามวิธีคือ กดปุ่ม Reset บนตัวเครื่อง กดปุ่ม Ctrl+alt+delete จากแป้นพิมพ์ แล้วเลือกคำสั่ง restart สั่งรีสตารท์เครื่องได้จากเมนูบนระบบปฏิบัติการ

ส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (User Interface) คือ ส่วนการทำงานของโปรแกรมที่ติดต่อหรือเป็นตัวกลางระหว่างผู้ใช้งานและคอมพิวเตอร์ให้ทำงานได้ตามที่ต้องการ แบ่งออกได้เป็น 2 ประเภทดังนี้ ประเภทคอมมานด์ไลน์ (Command Line) ประเภทกราฟิก (GUI - Graphical User Interface)

ประเภทคอมมานด์ไลน์ (Command Line) อนุญาติให้ป้อนรูปแบบคำสั่งที่เป็นตัวหนังสือ (text) สั่งการลงไปทีละบรรทัดคำสั่ง เรียกว่า คอมมานไลด์ (command line)

ประเภทกราฟิก (GUI - Graphical User Interface) นำเอารูปภาพมาปรับใช้สั่งงานแทนตัวอักษร เช่น ในระบบปฏิบัติการ Windows ผู้ใช้ไม่จำเป็นต้องจดจำรูปแบบคำสั่งเพื่อใช้งานให้ยุ่งยาก เหมือนกับแบบคอมมานด์ไลน์ เพียงแค่เลือกรายการคำสั่งภาพที่ปรากฏบนจอนั้นผ่านอุปกรณ์ต่างๆ เช่น เมาส์หรือคีย์บอร์ด

เคอร์เนลและเชลล์

การจัดการกับไฟล์ (file management) ไฟล์ (files) - หน่วยในการเก็บข้อมูลในคอมพิวเตอร์ ซึ่งอาจจะเก็บอยู่ในสื่อเก็บบันทึกข้อมูลต่างๆ เช่น ฟล็อปปี้ดิสก์, ฮาร์ดดิสก์หรือซีดีรอม เป็นต้น - ประกอบด้วยส่วนย่อย 2 ส่วนด้วยกันคือ ชื่อไฟล์ (naming files) และส่วนขยาย (extentions)

ตัวอย่างไฟล์

โครงสร้างแบบต้นไม้ (treelike structure)

ลำดับโครงสร้างไฟล์ (Hierarchical File System) เมื่อต้องการเก็บข้อมูลจะแยกโครงสร้างออกเป็นส่วนๆเหมือนกิ่งก้านสาขาของต้นไม้เรียกว่า โฟลเดอร์ (folder) แบ่งออกเป็น 2 ส่วนย่อยคือ ไดเร็คทอรี (Directory) ซับไดเร็คทอรี (Subdirectory)

โครงสร้างแบบต้นไม้ในระบบปฎิบัติการ

ลำดับโครงสร้างไฟล์ (Hierarchical File System) ไดเร็คทอรี (Directory) - โฟลเดอร์หลักสำหรับจัดเก็บหมวดหมู่ไฟล์ขั้นสูงสุดในระบบ บางครั้งอาจเรียกว่า root directory ซับไดเร็คทอรี (Subdirectory) - โฟลเดอร์ย่อยที่ถูกแบ่งและจัดเก็บไว้ออกมาอีกชั้นหนึ่ง

การจัดการหน่วยความจำ (memory management) ใช้วิธีที่เรียกว่า หน่วยความจำเสมือน (VM- virtual memory) กรณีที่มีการประมวลผลกับข้อมูลปริมาณมากหรือหลายโปรแกรมพร้อมกัน ระบบปฏิบัติการจะเก็บข้อมูลทั้งหมดของโปรแกรมที่ทำงานอยู่ขณะนั้นเอาไว้เป็นไฟล์ในฮาร์ดดิสก์ (เรียกว่า swap file) โดยแบ่งเนื้อที่เหล่านั้นออกเป็นส่วนๆเรียกว่า เพจ (page) ซึ่งมีการกำหนดขนาดไว้แน่นอน

swapping

การจัดการอุปกรณ์นำเข้าและแสดงผลข้อมูล (I/O device management) ใช้ บัฟเฟอร์ (buffer) เพื่อเป็นที่พักรอของข้อมูลที่อ่านเข้ามา เช่น การทำ spolling ในการจัดการงานพิมพ์ เรียกใช้ดีไวซ์ไดรเวอร์ (device driver) เพื่อควบคุมอุปกรณ์ชนิดนั้นๆโดยเฉพาะ

Spooling

การจัดการกับหน่วยประมวลผลกลาง (CPU Management) แบ่งเวลาของซีพียูเพื่อประมวลผลในการทำงานแบบ multi-tasking ทำให้ซีพียูตัวเดียว สามารถใช้ได้หลายๆคน หรือ multi-user ที่พบเห็นในระบบเครือข่าย ทำหน้าที่เป็นตัวประสานการทำงานของซีพียูที่มากกว่าหนึ่งตัวให้ทำงานด้วยกันได้ในระบบ multi-processing

การรักษาความปลอดภัยของระบบ ตรวจสอบสิทธิการเข้าใช้เครื่อง ว่าจะอนุญาตให้บุคคลนั้นใช้งานกับโปรแกรมหรือข้อมูลในตัวเครื่องนั้นได้หรือไม่

การตรวจสอบสถานะการทำงานของระบบ วัดประสิทธิภาพการทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์ เช่น วัดค่าเวลาที่ซีพียูทำงาน การตรวจสอบเวลาของซีพียูที่ถูกปล่อยว่างในการทำงาน

การตรวจสอบสถานะการทำงานของระบบ

แบบฝึกหัดท้ายบทที่ 5 cross-platform application คืออะไร จงอธิบาย device driver มีประโยชน์อย่างไรต่อการทำงานกับคอมพิวเตอร์ เสียงสัญญาณที่คอมพิวเตอร์ตอบสนองออกมาสั้นบ้าง ยาวบ้างนั้นเกิดจากกระบวนการในขั้นตอนใด และเหตุใดจึงต้องทำเช่นนั้น ประเภทของการบู๊ตเครื่องมีกี่ประเภท อะไรบ้าง จงอธิบาย จงบอกถึงความแตกต่างระหว่างส่วนประสานกับผู้ใช้แบบ Command line และแบบ GUI มาพอสังเขป

แบบฝึกหัดท้ายบทที่ 5 โครงสร้างแบบต้นไม้ คืออะไร เกี่ยวข้องกับโครงสร้างไฟล์ในคอมพิวเตอร์อย่างไรบ้าง ส่วนประกอบย่อยของไฟล์ประกอบด้วยส่วนใดบ้าง จงยกตัวอย่างไฟล์มาอย่างน้อย 5 รูปแบบพร้อมทั้งอธิบายด้วยว่าแต่ละรูปแบบมีความหมายเช่นไร หน่วยความจำเสมือนเกี่ยวข้องกับการจัดการหน่วยความจำอย่างไรบ้าง จงอธิบาย spolling ที่เกิดขึ้นในการพิมพ์งาน มีหลักการอย่างไรบ้าง

แบบฝึกหัดท้ายบทที่ 5 ระบบ plug and play คืออะไร มีประโยชน์อย่างไรต่อการทำงาน multi-processing คือการประมวลผลงานลักษณะใด มีหลักการทำงานอย่างไรบ้าง จงอธิบายพอสังเขป