หลักการออกแบบ ครูอนุชา สุระถา MR.ANUCHA SURATHA ครูนฤศรณ์ วิมลประสาร MR.NARUSORN WIMONPRASARN
องค์ประกอบมูลฐานของการออกแบบ องค์ประกอบมูลฐานของการออกแบบ 1. จุด (Dot) 2. เส้น (Line) 3. รูปร่างและรูปทรง (Shape & Form) 4. แสงและเงา (Light & Sade) 5. ช่องว่าง (Space) 6. สี (Color) 7. ลักษณะพื้นผิว (Texture)
หลักการจัดวางส่วนประกอบในการออกแบบ หลักการจัดวางส่วนประกอบในการออกแบบ 1. การเน้นจุดสนใจ (Emphasis) 2. ความสมดุล (Balance) 3. ความเป็นเอกภาพ (Unity) 4. จังหวะ (Rhythm) 5. ความกลมกลืน (Harmony) 6. ความขัดแย้ง (Contrast) 7. สัดส่วน (Proportion) 8. ความเรียบง่าย (Simplicity)
1. การเน้นจุดสนใจ (Emphasis) 1. การเน้นโดยการตัดกัน (ขนาด สี รูปร่าง) 2. การเน้นโดยการแยกตัวออกไป 3. การเน้นโดยการจัดวางตำแหน่ง (เส้นนำสายตา)
2. ความสมดุล (Balance) 1. สมดุลแบบสมมาตร 2. สมดุลแบบอสมมาตร 3. สมดุลแบบรัศมี
3. ความเป็นเอกภาพ (Unity) ความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน หรือ ความกลมกลืนกลมเกลียวเข้ากันได้ ความกลมกลืนและ ความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน ที่เกิดจากการเชื่อมโยงสัมพันธ์กันของส่วนต่างๆ
4. จังหวะ (Rhythm) การวางองค์ประกอบให้มีระยะตำแหน่งขององค์ประกอบเป็นช่วงๆ ซึ่งจะก่อให้เกิดความรู้สึกเคลื่อนไหว ต่อเนื่องและความมีทิศทาง แบ่งได้ 3 ลักษณะ คือ 1.จังหวะซ้ำ2.จังหวะระยะคงที่ และ 3.จังหวะระยะไม่คงที
5. ความกลมกลืน (Harmony) ความกลมกลืนเป็น การจัดวางองค์ประกอบทางศิลปะซึ่งมีคุณสมบัติใกล้เคียงกันเข้าไว้ ด้วยกันอย่างพอเหมาะ ทำให้งานออกแบบนั้นเกิดความประสานกลมกลืน มีความเป็นระเบียบและนำไปสู่ความมีเอกภาพ
6. ความขัดแย้ง (Contrast) ความขัดแย้งเป็นการจัดวางองค์ประกอบที่นำความแตกต่างกันมาไว้ด้วยกันไม่ว่าจะเป็น ขนาด รูปร่าง หรือสี เป็นต้น เพื่อให้ผลงานดูแล้วไม่น่าเบื่อ ไม่ซ้ำซาก ไม่จำเจ แต่อย่างไรก็ตามในการออกแบบความขัดแย้งควรคำนึงถึงความเป็นเอกภาพของชิ้นงานด้วย
7. สัดส่วน (Proportion) การจัดวางองค์ประกอบโดยคำนึงถึงความสัมพันธ์ของขนาด รูปร่างขององค์ประกอบ เพื่อให้มีขนาดสัดส่วนที่พอเหมาะกับองค์ประกอบโดยส่วนรวม และสามารถสร้างจุดสนใจให้กับงานออกแบบได้อีกด้วย
8. ความเรียบง่าย (Simplicity) การวางองค์ประกอบในการจัดภาพหรืองานออกแบบอื่น ควรเน้นที่ความเรียบง่ายไม่รกรุงรัง เพราะจะทำให้การสื่อความหมายไม่เป็นไปตามต้องการ
ถาม-ตอบ