อาจารย์นัณฑ์ศิตา ชูรัตน์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สื่อที่ใช้ในการสื่อสารข้อมูล
Advertisements

การสื่อสารข้อมูลบนเครือข่าย
ระบบการสื่อสารข้อมูล
คณะผู้จัดทำ นักเรียนโรงเรียนฝางวิทยายน อ. บ้านฝาง ต. บ้านฝาง จ. ขอนแก่น.
เทคโนโลยีสมัยใหม่ เรื่อง ระบบสื่อสารและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
Data Transmission Encoding Techniques and Transmission mode
การนำสายใยแก้วนำแสงมาเชื่อมต่อ หัวเชื่อมต่อที่นิยมใช้มี ดังนี้
เครือข่ายการสื่อสารข้อมูลท้องถิ่น
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
Personal Area Network (PAN)
Mahidol Witthayanusorn School
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทที่ 3 ในการเชื่อมต่อเครือข่าย
Digital Data Communication Technique
Cable Twist-pair (สายคู่บิดเกลียว) Coaxial (สายโคแอกเชียล)
รายวิชา ง40101 เทคโนโลยีสารสนเทศพื้นฐาน
Data Communication Chapter 2 OSI Model.
4/4/2017 การสื่อสารข้อมูล เทคโนโลยีเพื่อการส่งสัญญานข้อมูลจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่ง โดยมีองค์ประกอบพื้นฐาน 4 อย่าง คอมพิวเตอร์ หรือ หน่วยรับข้อมูล หรือ.
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
นายพีระภานุพันธ์ แจ้งอนันต์
สายคู่บิดเกลียว ข้อดี
ข้อดี-ข้อเสียของ สื่อกลาง ในการสื่อสารข้อมูล.
ข้อเสีย 1. ถูกรบกวนจากสัญญาณภายนอกได้ง่าย 2. ระยะทางจำกัด
สื่อกลางในการสื่อสารข้อมูล
ข้อดี ข้อเสีย สายโคแอกเชียล มีความคงทนสามารถเดินสายใต้ดินได้
สื่อลางในการสื่อสารข้อมูล
ข้อดี ราคา ถูก ง่ายต่อการ นำไปใช้ ข้อเสีย ใช้กับ ระยะทาง สั้นๆ จำกัด ความเร็ว ในกรณีเป็นสาย แบบไม่มีชีลด์ ก็ จะไวต่อ สัญญาณรบกวน.
สื่อกลางในการสื่อสารข้อมูล
ข้อเสีย 1.จำกัดความเร็ว
สายนำสัญญาณข้อมูลที่ใช้ หลักการทางแสง กล่าวคือ ใช้ กับสัญญาณข้อมูลที่อยู่ในรูป ของคลื่นแสงเท่านั้นตัวแก้วนำ แสงอาจทำจากแก้วหรือ พลาสติก การสูญเสียของสัญญาณแสงใน.
ข้อดี-ข้อเสียของสื่อกลางในการสื่อสารข้อมูล
สื่อกลางในการสื่อสารข้อมูล Satellite Transmission
ระบบการสื่อสารข้อมูล (Data Communication System)
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์บทที่ 7 Local Area Network
บทที่ 3 การส่งผ่านข้อมูล และการอินเตอร์เฟซ
การสื่อสารข้อมูล Data Communication Chapter 10 วชิรธรรมสาธิต
ระบบการสื่อสารข้อมูลและโครงข่ายโทรคมนาคม
ตัวกลางในการสื่อสารข้อมูล
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ : Computer Networks
Data Communication and Network
Data Communication and Network
เรื่อง ตัวกลางของการสื่อสารในเครือข่ายคอมพิวเตอร์
Introduction to Network
Ethernet (802.3) มาตรฐานข้อกำหนดคุณสมบัติของ โปรโตคอล Ethernet
บทที่ 4 พื้นฐานข้อมูลและสัญญาณ (Fundamental of Data and Signals)
องค์ประกอบ ระบบสื่อสาร ข้อมูล. จัดทำโดย นายพีรพัฒน์ปาคำ ม.4/1 เลขที่ 3 นางสาวจามจุรีเขียวสอาด ม.4/1 เลขที่ 40 เสนอ อาจารย์ กรกนก เตชะชัย โรงเรียนน่านนคร.
Data transfer rate(bandwidth) protocol file server web server.
รูปแบบการส่งสัญญาณข้อมูล
บทที่ 9 การจัดการข้อมูล การตรวจสอบความผิดพลาดในการส่งข้อมูล
วัตถุประสงค์ อธิบายหลักการส่งข้อมูลแบบขนานและแบบอนุกรมได้
ข้อดีข้อเสียของสื่อกลางประเภทมีสายและไร้สาย
สื่อกลางการสื่อสาร สื่อกลางแบบมีสาย 2. สื่อกลางแบบไร้สาย.
เครือข่ายแลนอีเทอร์เน็ต (Wired LANs : Ethernet)
ATM (Asynchronous Transfer Mode )
งานเทคโนโลยีสารสนเทศ โรงเรียนพนมเบญจา
ระบบสื่อสารข้อมูล 2 ง ไอที 2 ศูนย์คอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดง พิทยาคม.
รูปร่างเครือข่ายคอมพิวเตอร์ จัดทำโดย เด็กชาย คณิศร อ้อยกลาง เลขที่ 36 ม.2/5 เสนอ อ.สายฝน เอกกันทา โรงเรียนจักรคำคณาทร จ.ลำพูน.
NETWORK.
ระบบสื่อสารข้อมูลไร้สาย
ข้อดี ราคาถูก ง่ายต่อการ นำไปใช้ ข้อเสีย จำกัด ความเร็ว ใช้กับ ระยะทาง สั้นๆ สายคู่บิดเกลียว.
สายคู่บิด เกลียว ข้อดี ราคาไม่แพงมาก น้ำหนักเบา ติดตั้ง ง่าย ข้อเสีย จำกัดความเร็วใช้กับระยะทางสั้นๆ ในกรณีเป็นสายแบบ ไม่มีชีลด์ ก็จะไวต่อ สัญญาณรบกวน.
สิ่งที่สำคัญในระบบปฏิบัติการของเราในวันนี้คงหนีไม่พ้นในเรื่องของ เครือข่าย หรือ Network network คืออะไร เครือข่ายมีไว้เพื่อสื่อ สารกันระหว่างคอมพิวเตอร์
สื่อกลางในการสื่อ สารข้อมูลสายคู่บิดเกลียวสายใยแก้วนำแสงระบบไมโครเวฟสายโคแอกเชียลระบบดาวเทียม.
การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ในระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
* ความหมายของระบบ เครือข่าย ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Computer Network) หมายถึงการ นำเครื่องคอมพิวเตอร์ มาเชื่อมต่อเข้า ด้วยกัน โดยอาศัยช่องทางการสื่อสาร.
การสื่อสาร ข้อมูล (Data Communication) การสื่อสารข้อมูล (Data Communications) กระบวนการถ่ายโอนหรือ แลกเปลี่ยนข้อมูลกันระหว่างผู้ส่ง และผู้รับ โดยผ่านช่องทางสื่อสาร.
แบบจำลอง OSI Model.
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 4 : สื่อกลางส่งข้อมูลและการมัลติเพล็กซ์ (Transmission Media and Multiplexing) Part1 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ.
ระบบเครือข่าย คอมพิวเตอร์ เบื้องต้น
ใบสำเนางานนำเสนอ:

อาจารย์นัณฑ์ศิตา ชูรัตน์ The Physical Layer อาจารย์นัณฑ์ศิตา ชูรัตน์

Physical Layer Physical Layer ซึ่งเกี่ยวข้องกับการสื่อสาร (Transmission) ทำหน้าที่ จัดการเชื่อมต่อ และ การส่งสัญญาณทางไฟฟ้า จากผู้ส่ง ไปยังผู้รับ โดยผ่านสื่อกลาง Physical Layer เป็นส่วนล่างที่รองรับทุกอย่าง ทำหน้าที่ขนส่งสัญญาณ ของ Layer ที่สูงกว่าทั้งหมด โดยมาตรฐานที่ใช้กันมากที่สุดใน Physical Layer คือ RS-232C มาตรฐานของสัญญาณ และสายที่กำหนด ว่าสัญญาณไหนทำอะไร และระดับแรงดันไฟฟ้าเท่าใดแทน 0 หรือ 1

การเข้ารหัสสัญญาณดิจิตอล การแปลงข้อมูลดิจิตอลให้เป็นสัญญาณดิจิตอล (Digital Data to Digital Signal) การส่งข้อมูลดิจิตอลผ่านช่องทางสื่อสารแบบดิจิตอลจะต้องมีการเข้ารหัส เพื่อให้สามารถส่งข้อมูลไปได้อย่างปลอดภัย เกิดการผิดพลาดของการส่งข้อมูลน้อย มีเทคนิควิธีเข้ารหัสสัญญาณดิจิตอลหลายวิธีด้วยกัน แบบ NRZ-L เป็นแบบที่ง่ายที่สุด โดยใช้ระดับแรงดันที่แตกต่างกันสองระดับ ส่วนสําหรับเครือข่าย LAN (Ethernet) จะใช้เทคนิค Manchester เทคนิค Differential Manchester สําหรับ Token Ring

การเข้ารหัสสัญญาณดิจิตอล NRZ-L (Nonreturn to Zero Level) 0 = high level ค่าสูง 1 = low level ค่าต่ำ NRZI (Nonreturn to Zero Inverted) 0 = ไม่มีการเปลี่ยนแปลงที่บิตเริ่มต้น 1 = เปลี่ยนแปลงเป็นตรงกันข้าม

การเข้ารหัสสัญญาณดิจิตอล Bipolar-AMI 0 = ไม่มีสัญญาณ 1 = สัญญาณเป็นบวกและลบสลับกัน Pseudoternary 0 = สัญญาณเป็นบวกและลบสลับกัน 1 = ไม่มีสัญญาณ

Differential Manchester 0 = เปลี่ยนจากค่าสูงเป็นค่าต่ำในช่วงกลาง 1 = เปลี่ยนจากค่าต่ำเป็นค่าสูงในช่วงกลาง Differential Manchester จะมีการเปลี่ยนแปลงที่ช่วงกลางเสมอ 0 = เปลี่ยนเป็นสัญญาณตรงกันข้ามกับด้านหน้า 1 = ไม่เปลี่ยนแปลงสัญญาณจากด้านหน้า

ปจจัยที่มีสวนเกี่ยวของกับความเร็วบนตัวกลางที่ใชสงขอมูล ขอควรพิจารณาในการออกแบบระบบการสงผานขอมูล คืออัตราความเร็วของขอมูล และระยะทาง (Data Rate and Distance) โดยอัตราความเร็วของขอมูลที่สูงและสามารถผานไดในระยะ ทางไกล ยอมดีกว่าอัตราความเร็วของขอมูลที่ต่ำและสงไดในระยะทางที่สั้น สวนจํานวนปจจัยที่ เกี่ยวของกับตัวกลางที่ใชสงข้อมูล และสัญญาณเพื่อนํามาประกอบการพิจารณาดานความเร็วของ ขอมูลและระยะทาง ประกอบดวย แบนดวิดธ (Bandwidth) ความสูญเสียตอการสงผาน (Transmission Impairments) การรบกวนของสัญญาณ (Interference) จํานวนโหนดที่เชื่อมตอ (Number of Receivers)

สายคูบิดเกลียว (Twisted-Pair) ประกอบดวย 4 คู สายคูบิดเกลียวแบงออกไดเปน 2 ประเภท คือ สายคูบิดเกลียวแบบไมมีชีลด (UTP : Unshielded Twisted-Pairs) และ สายคูบิดเกลียวแบบมีชีลด (STP : Shielded Twisted-Pairs) สําหรับการสงขอมูลดวยสายคูบิดเกลียว จะมีคุณลักษณะสําคัญตางๆ ดังตอไปนี้ กรณีสงขอมูลแบบแอนะล็อก จําเปนตองมีเครื่องขยาย (Amplifiers) เพื่อเพิ่มกําลังสง ในระยะทางทุกๆ 5 ถึง 6 กิโลเมตร กรณีสงขอมูลแบบดิจิตอล จําเปนตองใชอุปกรณที่เรียกวาเครื่องทวนสัญญาณ (Repeater) ในระยะทางทุกๆ 2 ถึง 3 กิโลเมตร ใชงานบนระยะทางที่จํากัด มีแบนดวิดที่จํากัด(1 MHz ถึง 100 MHz ) อัตราความเร็วในการสงขอมูลมีจํากัด ไวตอสัญญาณรบกวน

ขอดีและขอเสียของสายคูบิดเกลียว ราคาถูก งายตอการนําไปใชงาน ขอเสีย ความเร็วจํากัด ใชกับระยะทางสั้น ๆ ในกรณีเปนสายแบบไมมีชีลดปองกันสัญญาณรบกวน ก็จะไวตอสัญญาณรบกวนภายนอก