นางสาวธันยกานต์ สินปรุ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การกำหนดโครงการ ตัวชี้วัด และค่าเป้าหมาย เพื่อบรรจุในแผนปฏิบัติราชการปี 2554 มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี วันพฤหัสบดีที่ 5 สิงหาคม 2553 ห้องประชุมวารินชำราบ.
Advertisements

โครงการเพิ่มช่องทางการรับชำระเงินค่าหอพัก
การกำหนดปัญหา และความต้องการ (Problem Definition and Requirements)
โดย ดร.วรินทร์ สุวรรณวิสูตร อาจารย์ผู้ประสานงานวิชาโครงการ
สรุปข้อเสนอแนะ กลุ่มผู้แทนหน่วยงานภาครัฐ เครือข่ายการมีส่วนร่วมภาคประชาชนระดับภูมิภาค.
ภาพรวมของแนวคิดโครงงาน
ภาพรวมของแนวคิดโครงงาน
โครงการ “การจ่ายค่าตอบแทนวิทยากร ในรายการเปิดประตูสู่มหาวิทยาลัย”
สำนักบริหารงานศิลปวัฒนธรรม
โครงการการปรับขั้นตอนการรับสมัคร เข้าร่วมโครงการฝึกอบรมสัมมนา
เครือข่ายวิชาชีพห้องสมุด
Seminar in computer Science
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
ตัวชี้วัดโครงการ บรรณารักษ์พบนักวิจัย
การเตรียมเอกสาร สอบหัวข้อโครงงาน
จดหมายเหตุมหาวิทยาลัยอิเล็กทรอนิกส์ กับระบบห้องสมุดอัตโนมัติ
“ลูกค้าสัมพันธ์” ก้าวใหม่ในการบริการห้องสมุด
สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
โต้วาทีน้องใหม่ ชิงโล่อธิการบดี
คนึงนิตย์ หีบแก้ว ธันยกานต์ สินปรุ พุทธชาติ เรืองศิริ
การสัมมนา PULINET วิชาการ ครั้งที่ 4 23 มกราคม 2557
ระบบจัดเก็บค่าน้ำประปา
หน่วยบริการในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข เพื่อให้บริการสาธารณสุข
การนำเสนอผลงานสร้างสรรค์ดีเด่น
การนำเสนอผลงานสร้างสรรค์ดีเด่น
รายงานการศึกษาความเป็นไปได้
การเริ่มต้นและการวางแผนโครงการ
หน่วยการเรียนที่ 5 แหล่งสารสนเทศ.
ด่านศุลกากรสตูล.
พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการ
บทบาทการบริหารงานสำนักงาน 1
การวางแผนและ การจัดทำ IT Audit
โมดูล 5 ผู้ใช้และความต้องการสารสนเทศ
บทบาทเจ้าหน้าที่ในการจัดเวทีประชาคมและเสริมสร้างครอบครัวพัฒนา
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสำนักงาน และการบริหารงานสำนักงาน
การทำ Social Mapping เพื่อหาข้อตกลง
การรวบรวมความต้องการ (Requirements Gathering)
การประเมินคุณภาพภายใน ประจำปีการศึกษา 2550 หน่วยงานสนับสนุน
โดย วัชรินทร์ จำปี รองเลขาธิการ กศน.
นักวิจัย กับ แนวทางการมีส่วนร่วมในการทำวิจัย
การบริหารสำนักงาน ด้วยระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
กลุ่มที่ 1.
แนวปฏิบัติในการดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา
รายละเอียดประสบการณ์ภาคสนาม (Field Experience Specification)
กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ในงานศูนย์สนเทศภาคเหนือ
ศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตรประจำตำบล
แนวทางดำเนินงานจัดการความรู้ในงานส่งเสริมการเกษตร ให้ประสบผลสำเร็จ
ความรู้สู่การประชาสัมพันธ์งาน ด้านการศึกษา คณะวารสารศาสตร์และ สื่อสารมวลชน Knowledge Management.
แล การ นิ เทศงานและการ แก้ ไขปัญหา ในงานสหกิจศึกษา การ นิ เทศงานและการ แก้ ไขปัญหา ในงานสหกิจศึกษา ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. อัจฉราพร โชติพฤกษ์ ผู้อำนวยการกลุ่มงานมาตรฐานและบริการการศึกษา.
การแก้ไขปัญหาในงานสหกิจศึกษา
กลุ่ม ๓ (สีเขียว) วิเคราะห์สภาพปัญหา อุปสรรค และ แนวทางในการพัฒนาพรรคการเมือง ได้เป็น” สถาบันทางการเมือง” ที่เข้มแข็ง.
QA ready ภาควิชาโสต ศอ นาสิกวิทยา 16 มกราคม 2556 เวลา 13:40-13:50.
การแบ่งหนังสือออกตามลักษณะการจัดทำและความเหมาะสมของผู้อ่านแต่ละกลุ่ม
การฝึกประสบการณ์วิชาชีพในหน่วยงานราชการ ณ ส่วนแผนงานและพัฒนางานประชาสัมพันธ์ สำนักประชาสัมพันธ์เขต 3 เชียงใหม่
กลุ่มที่ 4.
กิจกรรมอำนวยความปลอดภัยขณะก่อสร้าง
รศ. ดร. นิตยา เจรียงประเสริฐ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
โดย จันทร์เพ็ญ จุ้ยจงรักษ์ ศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี 1 การลงรายการใน ระบบ DSpace.
การจัดการความรู้ ยุทธศาสตร์ที่ 1 การใช้เทคโนโลยีกลไกในการบริหารจัดการ สำนักอำนวยการ สป. องค์ความรู้การจัดทำสื่อประชาสัมพันธ์เผยแพร่ภาพลักษณ์และแนะนำองค์กร.
การฝึกงาน รายวิชาในกลุ่มวิชาเอกบังคับของหลักสูตรระดับปริญญาตรี คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มหาวิทยาลัยพะเยา การฝึกปฏิบัติงานจริง จะทำให้นิสิตได้มีโอกาสเรียนรู้ประสบการณ์
Planing : ระบบการวางแผนงบประมาณ
การเขียนรายงานผลการวิจัย
สัมมนาทางการประกอบการธุรกิจ
นางมลิวรรณ สมบุญโสด ผู้วิจัย
การวิจัยการสื่อสารการตลาด (AMC2202)
กลุ่ม สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร.
ขอบเขตของการพัฒนา ทรัพยากรสารสนเทศ การเลือกทรัพยากรสารสนเทศ การประเมินคุณค่าทรัพยากร สารสนเทศ การศึกษาปริมาณของ ทรัพยากรสารสนเทศ การจัดหาทรัพยากรสารสนเทศ.
เทคนิควิธีในการจัดการเรียนการสอน
โครงการจัดตั้ง กองแผนงาน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

นางสาวธันยกานต์ สินปรุ ศบส. เคาะประตูบ้าน นางสาวธันยกานต์ สินปรุ บรรณารักษ์ ฝ่ายส่งเสริมการรู้สารสนเทศ ศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี

บทนำ “ศบส. เคาะประตูบ้าน” เป็นบริการเชิงรุกบริการหนึ่งของศูนย์บรรณสารฯ โดยการแนะนำบริการต่าง ๆ ของศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษาในลักษณะเข้าถึงตัวผู้ใช้บริการ ทำให้ผู้ใช้บริการเข้าใจและรู้จักบริการต่างๆ ของศูนย์บรรณสารฯ ได้ชัดเจนยิ่งขึ้น เช่น ทราบว่ามีสิทธิประโยชน์ของการเป็นสมาชิก และมีบริการอะไรบ้าง รวมทั้งขั้นตอนการใช้บริการต่างๆ

ทำไมต้องมี “ศบส.เคาะประตูบ้าน” “การนั่งอยู่กับที่ ก็ไม่ต่างกับการนั่งอยู่ในหลุม” มองผู้ใช้ไม่ทั่วถึง ไม่เห็นตัวเอง ไม่เห็นปัญหา ย่ำอยู่กับที่ อยู่ในหลุมเดิม

วัตถุประสงค์การดำเนินการ 1. เพื่อแนะนำบริการต่างๆ ของศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษา 2. เพื่อเชิญชวนคณาจารย์ใช้บริการต่างๆ ของศูนย์บรรณสาร และสื่อการศึกษา 3. เพื่อรับฟังปัญหาและข้อเสนอแนะต่อการใช้บริการต่างๆ ของศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษา

การดำเนินการ กำหนดกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเป้าหมายหลัก ได้แก่ กลุ่มคณาจารย์ใหม่ที่บรรจุเป็นพนักงานสายวิชาการของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารีในแต่ละภาคการศึกษา กลุ่มคณาจารย์ที่ไม่เคยมาใช้บริการของศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษา

การดำเนินการ (ต่อ) ระยะเวลาดำเนินการ “ศบส. เคาะประตูบ้าน” ดำเนินการระหว่างปิดภาค การศึกษาของแต่ละภาค

ขั้นตอนการดำเนินการ (ต่อ) ก่อนการดำเนินการ จัดทำ/ปรับปรุงคู่มือการดำเนินกิจกรรม “ศบส. เคาะประตูบ้าน” ทำแบบฟอร์มสำหรับบันทึก ปัญหา อุปสรรค และข้อคิดเห็นของผู้ใช้บริการ ทำบันทึกขอรายชื่อคณาจารย์ที่บรรจุใหม่จากส่วนการเจ้าหน้าที่ ทำตารางรายชื่อเพื่อโทรศัพท์นัดหมาย นัดหมาย วัน เวลา และสถานที่ที่จะไปพบคณาจารย์ ประสานงานฝ่ายบริการสื่อการศึกษาเพื่อส่งผู้แทนร่วมกิจกรรม จัดเตรียมเอกสารที่จะนำไปให้กับคณาจารย์ เช่น คู่มือกิจกรรม “ศบส. เคาะประตูบ้าน” เอกสาร/แผ่นพับประชาสัมพันธ์ คู่มือการสืบค้นสารสนเทศแต่ละสาขาวิชา เป็นต้น

ขั้นตอนการดำเนินการ (ต่อ) ระหว่างดำเนินการ สิ่งที่จะไปแนะนำ หรือไปคุยกับอาจารย์มีอะไรบ้าง?.. เพื่อจะได้ไม่เป็นการหลุดออกนอกประเด็น เมื่อออกไปพบอาจารย์จึงได้กำหนดประเด็น/ข้อมูลที่จะแนะนำให้อาจารย์ได้ทราบ อีกทั้งระหว่างการสนทนาจะมี การบันทึกปัญหา ข้อเสนอแนะที่ต่างๆ เพื่อนำมาประสานกับฝ่ายที่เกี่ยวข้องต่อไป

ขั้นตอนการดำเนินการ (ต่อ) ประเด็น/ข้อมูล แนะนำผู้เข้าร่วมกิจกรรม “ศบส. เคาะประตูบ้าน” แนะนำภาพรวมของศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษา บริการห้องสมุด บริการสื่อการศึกษา สิ่งอำนวยความสะดวกสอบถามปัญหาในการใช้บริการ / ข้อเสนอแนะ / บริการใหม่ๆ ที่ต้องการให้ศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษาจัดบริการเพิ่มเติม

ตัวอย่างแบบสัมภาษณ์คณาจารย์

ขั้นตอนการดำเนินการ (ต่อ) หลังการดำเนินการ สรุปประเด็นปัญหา ข้อเสนอแนะ และประสานกับฝ่ายที่เกี่ยวข้องเพื่อให้ข้อมูลแก่คณาจารย์เพิ่มเติม จัดทำเอกสารสรุปผลการดำเนินกิจกรรม “ศบส. เคาะประตูบ้าน

ผลของการดำเนินกิจกรรม “ศบส. เคาะประตูบ้าน” “ศบส. เคาะประตูบ้าน” ทำให้ศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษา เป็นที่รู้จักของผู้ใช้บริการ ได้ทราบถึงบริการต่างๆ ขอบเขต และภาระหน้าที่ของศูนย์บรรณสารฯ และสามารถขอใช้บริการได้อย่างถูกต้อง ยิ่งไปกว่านั้นยังเป็นช่องทางการประชาสัมพันธ์ภาพลักษณ์ ของศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษา สร้างความเข้าใจอันดีระหว่างผู้รับบริการและผู้ให้บริการ ยิ่งไปกว่านั้นศูนย์บรรณสารยังได้รับข้อมูล ที่เป็นประโยชน์ต่อการพัฒนา ปรับปรุงการให้บริการให้มีประสิทธิภาพดียิ่งขึ้น