นายสันติ วิจักขณาลัญฉ์ นายไพโรจน์ เติมเตชาติพงศ์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การวิจัยในชั้นเรียน Classroom Research
Advertisements

การสร้างแบบทดสอบ อาจารย์ ปรีชา เครือวรรณ อาจารย์ สมพงษ์ พันธุรัตน์
งานวิจัย ผลการใช้แบบฝึกการเขียนคำที่มักเขียนผิด
ความหมายของสื่อการสอนและสื่อการเรียนรู้
ระบบการประเมินเพื่อพัฒนาผลการปฏิบัติงาน บุคลากรสายสนับสนุน
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
แนวคิดการจัดการเรียนรู้ และมาตรฐาน งานการวัดและประเมินผล ในสถานศึกษา
หลักการพัฒนา หลักสูตร
รศ. ดร. สุนีย์ เหมะประสิทธิ์
การวิเคราะห์ผู้เรียน
การวิจัยกับพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542
การวิจัยและพัฒนาผู้เรียนด้วย E-Learning
การวิจัยในชั้นเรียนด้านอาชีวศึกษา
การเขียนรายงานการวิจัย
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาระดับ ปวส
การทำผลงานวิชาการ สงวนลิขสิทธิ์.....โดย ดร.สุรชาติ สังข์รุ่ง.
สวัสดี ครับ เพื่อนพี่น้องผู้ทรงคุณวุฒิทุกท่าน.
แผนกบริหารธุรกิจ โรงเรียนเทคโนโลยีชลบุรี ”
งานวิจัยการเรียนการสอน การสร้างและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน โดยใช้เอกสารประกอบการเรียนการสอน เรื่องปัจจัยที่มีผลต่อการดำเนินธุรกิจ วิชาการหาข้อมูลทางการตลาด.
ศึกษาการแก้ปัญหาพฤติกรรมการไม่ตั้งใจเรียน
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
นายวิชชุกร บัวคำซาว วิทยาลัยเทคโนโลยีเมโทร จังหวัดเชียงใหม่
การพัฒนากระบวนการอ่านในรายวิชาภาษาไทย ของนักศึกษาสาขา ช่างยนต์
รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์ มสธ.
คำนึง อุยตระกูล กศน.อำเภอบ้านไผ่
การประเมินตามสภาพจริง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เรวดี กระโหมวงศ์
นางสาวอังคณา วิศาลนิตย์ วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
การพัฒนาระบบสนับสนุนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้
การสร้างเครื่องมือและรวบรวมข้อมูลเพื่อจัดทำผลงานทางวิชาการ
สาขางานการท่องเที่ยวใน วิชาการจัดอาหารและเครื่องดื่มเพื่อการท่องเที่ยว
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการขาย 1 เรื่อง ประเภทของการขาย โดยใช้แบบฝึกทักษะ ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1.
โรงเรียนโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่
นางสาวพรวิภา จารุเดช วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
นางสาวปัทมา ปวงหล้า วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
การพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
นางสาวสุกัญญา กันศิริ
ชื่อผู้วิจัย : นางสาวพรธนา ช่วยตั้ง
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนบนเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ด้วยการเรียนรู้ร่วมกันโดยใช้เทคนิคการใช้ปัญหาเป็นฐานร่วมกับ เทคนิคจิกซอว์ เรื่อง อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น.
นายทศพิธ แป้นดวงเนตร วิทยาลัยเทคโนโลยีศรีธนาพณิชยการ เชียงใหม่
ชื่อผู้วิจัย นายอภิเชษฐ เพ็ชรอินทร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาหม้อแปลงไฟฟ้า เรื่องการสร้างหม้อแปลงไฟฟ้าขนาดเล็ก ด้วยกิจกรรมแบบเพื่อนช่วยเพื่อนของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ.
เสริมสร้างพฤติกรรมความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมาย โดยการใช้เสริมแรงทางบวก นางอภิรดี จำรูญวัฒน์
เรื่อง การศึกษาความสัมพันธ์ของ ผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนของผู้เรียนวิชาศึกษาทั่วไปกับ การทำโครงงานในรายวิชาระบบ ฐานข้อมูลของนักศึกษา ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้วิชาหลักการจัดการ
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
การพัฒนาทักษะการอ่านภาษาอังกฤษโดยใช้แบบฝึกการอ่านของนักเรียนระดับ ปวช
วิทยาลัยอาชีวศึกษาโปลีเทคนิคระยอง
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาเศรษฐศาสตร์ผู้บริโภคของผู้เรียน ระดับประกาศนียบัตร วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก.
ผู้วิจัย นายไพรัตน์ ศิลปสาตร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
ผู้วิจัย อาจารย์วราพร จันทร์แจ่มหล้า
ผู้วิจัย อาจารย์เรณู เอกลักษณ์ไพศาล
3. หลักการวิจัย หลักการวิจัย : สำราญ สาราบรรณ์.
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้โปรแกรมพิมพ์ดีดอังกฤษด้วยคอมพิวเตอร์ที่มีผลต่อการมองแป้นขณะพิมพ์ของนักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1 (ปวช.1)
โดย นายสุรชัย ไตรบรรณ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก
การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาระบบจัดการพลังงานใน อุตสาหกรรม ระดับชั้น ปวส.2/1 หมวดวิชาช่าง ยนต์ โดยใช้กิจกรรมเพื่อนช่วยเพื่อน โดย นายสุรชัย ไตรบรรณ์
ผู้วิจัย อาจารย์กุลรภัส ปองไป
ชื่อผลงานวิจัย : การพัฒนารูปแบบการเรียน การสอนผ่านเครือข่าย คอมพิวเตอร์เพื่อเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนของนักศึกษาระดับชั้น ปวส.2 แผนกวิชาคอมพิวเตอร์ วิทยาลัย.
3 rd largest economy world’s วิทยาลัยเทคโนโลยี วิมลบริหารธุรกิจ is the การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน วิชา คอมพิวเตอร์และ ระบบปฏิบัติการเบื้องตัน ของนักศึกษาระดับ.
โดย อาจารย์นันทิพร ม่วงแจ่ม
ผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาอาชีวศึกษา ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขาการ บัญชี วิชาการบัญชีเบื้องต้น ด้วยวิธีการจัดการเรียนรู้แบบสร้าง สถานการณ์จำลอง.
หลักการออกแบบของ ADDIE model มีขั้นตอนดังนี้. 1
นางสาวทิพย์วรรณ จะปูน วิทยาลัยเทคโนโลยีเมโทร เชียงใหม่
นางสาวธาราวรรณ เที่ยงดี
ชื่อเรื่อง ความคิดเห็นที่มีต่อการเรียนการ สอน สาขาวิชาการจัดการทั่วไป ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตร วิชาชีพชั้นสูง ผู้วิจัย นางเยาวลักษณ์ อา ลักษณสุวรรณ.
“ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการบริหารโครงการ โดยใช้กระบวนการกลุ่มในการจัดการเรียนการสอน” ผลงานวิจัยเรื่อง โดย นางสุภาวดี แก้วเก้า.
ศึกษาผลการประเมินการ ดำเนินงานระบบเรียนรู้ ของ วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์ ปีการศึกษา 2552 – 2554 นางอรัญญา เอี่ยมภักดิ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์
การใช้สื่อการสอน “วงจรบัญชี”
ใบสำเนางานนำเสนอ:

นายสันติ วิจักขณาลัญฉ์ นายไพโรจน์ เติมเตชาติพงศ์ การพัฒนา กิจกรรมการเรียนการสอน ผ่านเครือข่ายใยแมงมุม สำหรับนักศึกษาระดับอุดมศึกษา The Development of Learning Activities via World Wide Web for Higher Education Students นายสันติ วิจักขณาลัญฉ์ นายไพโรจน์ เติมเตชาติพงศ์ ภาควิชาการมัธยมศึกษา คณะศึกษาศาสตร์

วัตถุประสงค์ของการวิจัย พัฒนากิจกรรมการเรียนการสอนผ่านเครือข่าย ใยแมงมุมสำหรับนักศึกษาระดับอุดมศึกษา ศึกษาผลของกิจกรรมการเรียนการสอนผ่าน เครือข่ายใยแมงมุมสำหรับนักศึกษาระดับ อุดมศึกษาที่มีต่อการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทาง การเรียนของผู้เรียน

ขอบเขตของการวิจัย ประชากร กลุ่มตัวอย่าง เป็นนักศึกษาคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ที่ศึกษาในภาคปลาย ปีการศึกษา 2543 จำนวน 68 คน และลงทะเบียนเรียนรายวิชา 214430 ฟิสิกส์สำหรับ ครูระดับมัธยมศึกษา กลุ่มตัวอย่าง ได้มาจากการเลือกแบบเจาะจง จำนวน 23 คน

ขอบเขตของการวิจัย ตัวแปรที่ศึกษา ตัวจัดกระทำ ได้แก่กิจกรรมการเรียนการสอน ผ่านเครือข่ายใยแมงมุมสำหรับนักศึกษาระดับ อุดมศึกษา ตัวแปรตาม ได้แก่ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน

เครื่องมือในการวิจัย เครื่องมือที่ใช้ในการทดลองปฏิบัติ แผนการสอน จำนวน 8 แผน แผนกิจกรรม จำนวน 16 แผน ระบบฐานความรู้บน เครือข่ายคอมพิวเตอร์ http://secondary.kku.ac.th/itbl

เครื่องมือในการวิจัย เครื่องมือที่ใช้ในการสะท้อนผลการปฏิบัติมีดังนี้ แบบบันทึกสนาม แบบบันทึกการสังเกต พฤติกรรมการสอนและ พฤติกรรมผู้เรียนโดยผู้ช่วยวิจัย แบบบันทึกการสัมภาษณ์ผู้เรียน แบบประเมินกิจกรรมกลุ่ม แบบประเมินโครงงาน แบบประเมินแฟ้มสะสมงาน

เครื่องมือในการวิจัย เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินประสิทธิภาพ ของกิจกรรมการเรียนการสอน แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน

การเก็บรวบรวมข้อมูล การบันทึกสนาม การบันทึกการสังเกตพฤติกรรม การสอนและพฤติกรรมผู้เรียน โดยผู้ช่วยวิจัย การสัมภาษณ์ผู้เรียน การประเมินกิจกรรมกลุ่ม การประเมินโครงงาน การประเมินแฟ้มสะสมงาน การทดสอบท้ายบทเรียน และปลายภาคเรียน

ประเมินประสิทธิภาพของการจัดกิจกรรม การเรียนการสอน วิธีดำเนินการวิจัย : การวิจัยเชิงปฏิบัติการ การศึกษาสภาพปัญหาและสภาพบริบทของการจัดการเรียน การสอนในระดับอุดมศึกษาแลรายวิชา 214 430 4 Plan Act Observe Reflect ประเมินประสิทธิภาพของการจัดกิจกรรม การเรียนการสอน 1 2 3 Plan Act Observe Reflect วงจรที่ 2 Plan Act Observe Reflect วงจรที่ 3 Plan Act Observe Reflect วงจรที่ 4

ผลการวิจัย ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เกณฑ์

บรรลุวัตถุประสงค์ของการวิจัย สรุปผลการวิจัย กิจกรรมการเรียนการสอนผ่านเครือข่ายใยแมงมุมสำหรับ ผู้เรียนระดับอุดมศึกษาที่ผู้วิจัยพัฒนาเป็นกิจกรรมการเรียน การสอนที่ประสิทธิภาพ ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น บรรลุวัตถุประสงค์ของการวิจัย

สรุปผลการวิจัย คุณลักษณะของผู้เรียนที่เกิดขึ้นหลังการวิจัย ทักษะการทำงานเป็นกลุ่ม ความรับผิดชอบต่อตนเองและกลุ่ม ทักษะและความสามารถในการใช้เทคโนโลยี สารสนเทศเพื่อการเรียนรู้

รูปแบบกิจกรรม การเรียนที่ผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์กับผู้สอน โดยตรง (Synchronous learning) การเรียนที่ผู้เรียนไม่มีปฏิสัมพันธ์กับผู้สอน โดยตรง (Asynchronous learning)

การเรียนที่ผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์กับผู้สอนโดยตรง (Synchronous learning) รูปแบบกิจกรรม การเรียนที่ผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์กับผู้สอนโดยตรง (Synchronous learning) การนิยามและวิเคราะห์ปัญหา (Define and analysis the problem) ขั้นการวางแผนเพื่อแก้ปัญหา (Planning to solve the problem) ขั้นการสืบเสาะหาและอภิปรายเพื่อหาคำตอบ (Searching and discussion) การเสนอคำตอบ (Presentation) การประเมินผล (Evaluation)

รูปแบบกิจกรรม ศึกษาโครงงานที่สนใจ จัดทำโครงงาน นำเสนอโครงงาน การเรียนที่ผู้เรียนไม่มีปฏิสัมพันธ์กับผู้สอนโดยตรง (Asynchronous learning) ศึกษาโครงงานที่สนใจ จัดทำโครงงาน นำเสนอโครงงาน ประเมินผลโครงงาน

ITBL รูปแบบกิจกรรม Asynchronous learning Synchronous learning I N F O R M A T I O N T E C H N O L O G Y – B A S E D L E A R N I N G Classroom on the Net

ขอกราบขอบพระคุณ รศ.ดร.สุลัดดา ลอยฟ้า รองอธิการฝ่ายพัฒนาบุคคล รศ.ดร.คงศักดิ์ ธาตุทอง ผศ.ดร.ไพศาล สุวรรณน้อย ผศ.ครรชิต ตรัญตรัยรัตน์ อ.ปรีชา เครือวรรณ และผู้ที่มีส่วนให้การวิจัยนี้สัมฤทธิ์ผลตามจุดมุ่งหมายทุกท่าน

คณะผู้วิจัย นายสันติ วิจักขณาลัญฉ์ หัวหน้าโครงการ นายสันติ วิจักขณาลัญฉ์ หัวหน้าโครงการ นายไพโรจน์ เติมเตชาติพงศ์ ผู้ร่วมโครงการ ที่ทำงาน : ภาควิชาการมัธยมศึกษา คณะศึกษาศาสตร์

คณะผู้วิจัย นายสันติ วิจักขณาลัญฉ์ หัวหน้าโครงการ นายสันติ วิจักขณาลัญฉ์ หัวหน้าโครงการ นายไพโรจน์ เติมเตชาติพงศ์ ผู้ร่วมโครงการ ที่ทำงาน : ภาควิชาการมัธยมศึกษา คณะศึกษาศาสตร์

I N F O R M A T I O N T E C H N O L O G Y - B A S E D L E A R N I N G I T B L I N F O R M A T I O N T E C H N O L O G Y - B A S E D L E A R N I N G

ภาพกิจกรรมการเรียนการสอน Cooperative Learning Students Center

ผลการวิจัย ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เกณฑ์ 75%

นายสันติ วิจักขณาลัญฉ์ ผู้วิจัย นายสันติ วิจักขณาลัญฉ์ ผู้วิจัย ที่ทำงาน : ภาควิชาการมัธยมศึกษา คณะศึกษาศาสตร์