โปรแกรมภาษาจาวาเบื้องต้น Basic Java Programming 3(2-2-5)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โครงสร้างโปรแกรมภาษา JAVA
Advertisements

โครงสร้างของภาษา C ในโปรแกรมที่พัฒนาด้วยภาษา C ทุกโปรแกรมจะมีโครงสร้างการพัฒนาไม่แตกต่างกัน ซึ่งประกอบด้วย 6 ส่วนหลัก ๆ โดยที่แต่ละส่วนจะมีหน้าที่แตกต่างกัน.
Suphot Sawattiwong Function ใน C# Suphot Sawattiwong
Lab Part Nattee Niparnan
Introduction to C Introduction to C.
ENG2116 การโปรแกรมคอมพิวเตอร์ (C programming)
โครงสร้างโปรแกรมภาษา C
CSI1201 การเขียนโปรแกรมเชิงโครงสร้าง Structured Programming
Ajax อ.วชิระ หล่อประดิษฐ์ ระบบสารสนเทศทางคอมพิวเตอร์
แนะนำการเขียนโปรแกรมภาษา C Introduction to C Programming Language
Structure Programming
Structure Programming
องค์ประกอบของโปรแกรม
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรม GUI
รับและแสดงผลข้อมูล.
PHP LANGUAGE.
โดย อาจารย์ณัฐพงศ์ พยัฆคิน
องค์ประกอบพื้นฐาน ของโปรแกรม Visual Basic
ปฏิบัติการครั้งที่ 9 ฟังก์ชัน.
ครั้งที่ 7 Composition.
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ JAVA
โครงสร้าง HTML โครงสร้างพื้นฐาน HTML คำสั่งขึ้นบรรทัดใหม่ <BR>
ฟังก์ชันของ PHP ฟังก์ชันคือ โปรแกรมย่อยที่สามารถประมวลผล และ คืนผลลัพธ์จาการประมวลผลนั้นสู่โปรแกรมหลักได้ ซึ่งจำเป็นในการเขียนโปรแกรมเพื่อช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพที่สูงขึ้น.
Surachai Wachirahatthapong
การออกแบบและพัฒนาซอฟต์แวร์ บทที่ 5 การพัฒนาซอฟต์แวร์ด้วย MS Visual Basic 2010 ปริญญา น้อยดอนไพร สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ ด้วยภาษาจาวา
ภาษาที่ใช้ในการเขียนเว็บไซต์
บทที่ 3 Class and Object (1) การสร้างและการใช้งานคลาส
คลาสและวัตถุ (2) (Class & Object)
บทที่ 1 หลักการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ
คลาสและวัตถุ (3) (Class & Object). w5_000.rar การใช้งานเมธอดภายในคลาสเดียวกัน ข้อ 24, 25 as5_000.rar การใช้งานเมธอดภายในคลาสเดียวกัน ข้อ 23 2.
แนะนำการเขียนโปรแกรมภาษา C Introduction to C Programming Language
C# Programming Exceed Camp: Day 3.
Lecture 4 องค์ประกอบภาษา C To do: Hand back assignments
String Class มหาวิทยาลัยเนชั่น การโปรแกรมเชิงวัตถุด้วยภาษา JAVA
อาร์เรย์ หรือแถวลำดับ (Array)
Page: 1 การโปรแกรมเชิงวัตถุด้วยภาษา JAVA บุรินทร์ รุจจนพันธุ์.. ปรับปรุง 15 มิถุนายน 2550 Structure Programming มหาวิทยาลัยเนชั่น.
Algorithm มหาวิทยาลัยเนชั่น Java Pre-Test 49 (Series 1, 2 )
Page: 1 การโปรแกรมเชิงวัตถุด้วยภาษา JAVA บุรินทร์ รุจจนพันธุ์.. ปรับปรุง 3 มิถุนายน 2550 Method of Class มหาวิทยาลัยเนชั่น.
Page: 1 การโปรแกรมเชิงวัตถุด้วยภาษา JAVA บุรินทร์ รุจจนพันธุ์.. ปรับปรุง 7 มิถุนายน 2556 Text File Processing มหาวิทยาลัยเนชั่น.
ฟังก์ชัน ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ ศูนย์คอมพิวเตอร์
ภาษาจาวาสคริปต์ ง การเขียนไดนามิกเว็บเพจ ศูนย์คอมพิวเตอร์โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม.
ใบงานที่ 7 การรับและแสดงผลข้อมูล
ประวัติความเป็นมาภาษาซี
Object Oriented Programming Handling Exceptions
Method of Class อ.สุพจน์ สิงหัษฐิต
สำนักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มหาวิทยาลัยนเรศวร พะเยา
วิชา วิศวกรรมซอฟต์แวร์ (Software Engineering)
: Introduction to DATABASE (ฐานข้อมูลเบื้องต้น)
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรม PHP
บทที่ 2 การแสดงผลและรับข้อมูล
Computer Programming การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
Java Programming Java Structure and Datatype,Variable
Midterm outline Object-oriented programming Wattanapong suttapak, Software Engineering, school of Information communication Technology, university of phayao.
BCS 121 บท 5 การโปรแกรมเชิงวัตถุ (Object-Oriented Programming)
การออกแบบส่วนติดต่อกับผู้ใช้ User Interface Design
Object Oriented Programming : OOP
โครงสร้าง ภาษาซี.
บทที่ 9 การสร้างและใช้ งานฟังก์ชั่น C Programming C-Programming.
Java Network Programming 1
chapter5 - คลาสนามธรรม - อินเตอร์เฟสคลาส
หลักการเขียนโปรแกรมเบื้องต้น
แนะนำการเขียนโปรแกรมภาษา C Introduction to C Programming Language
การกระทำทางคณิตศาสตร์
PHP เบื้องต้น.
Function. วัตถุประสงค์การเรียนรู้ ให้รู้จักว่าฟังก์ชันคืออะไร ให้รู้จักว่าเราสร้างฟังก์ชันเพื่อจุดประสงค์ใด หรือ เพื่อประโยชน์ใด ให้รู้จักประเภทของฟังก์ชัน.
เริ่มต้นเขียนโปรแกรมภาษาจา วา (Introduction to JAVA Programming)
บทที่ 10 การจัดการไฟล์ อาจารย์ศศลักษณ์ ทองขาว สงวนลิขสิทธิ์ © 2547 มหาวิทยาลัยราช ภัฏสงขลา C Programming C-Programming.
การทำซ้ำ (for).
16. การเขียนรายงานการวิจัย
ใบสำเนางานนำเสนอ:

5111306 โปรแกรมภาษาจาวาเบื้องต้น Basic Java Programming 3(2-2-5) อ.ดร.สกุล คำนวนชัย วิศวกรรมสารสนเทศและการสื่อสาร คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี

1 การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น วัตถุประสงค์ เพื่อให้ผู้เรียนมีความเข้าใจหลักการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ (Object Oriented Programming ) เพื่อให้ผู้เรียนรู้ถึงความเป็นมาของโปรแกรมภาษาจาวา เพื่อให้ผู้เรียนสามารถติดตั้งโปรแกรมภาษาจาวาได้

การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น เนื้อหา หลักการเขียนโปรแกรม โครงสร้างโปรแกรมภาษาจาวา การติดตั้งโปรแกรมภาษาจาวาได้ โปรแกรม Hello World

หลักการเขียนโปรแกรมเบื้องต้น การเขียนโปรแกรมแบบมีโครงสร้าง (Structure Programming) : C, Pascal การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ (Object Oriented Programming) : C, C#, PHP, .net, Java

การเขียนโปรแกรมแบบโครงสร้าง การเขียนโปรแกรมแบบโครงสร้าง คือ การเขียนโปรแกรมโดยจัดแบ่งคำสั่งออกเป็นชุดคำสั่งย่อย (Function) หลายๆ ชุด ซึ่งโปรแกรมหลัก (Main Function) จะทำการเรียกฟังก์ชันย่อย (Sub Function) มาใช้งานตามต้องการ โดยก่อนเรียกใช้งานโปรแกรมย่อยต้องมีตัวโปรแกรมย่อยเป็นองค์ประกอบของโปรแกรมหลัก ซึ่งมีวิธีการทำงานดังรูป

ในภาษาจาวา ข้อความ หมายถึง กลุ่มของอักษรหลายๆตัวที่อยู่ภายในเครื่องหมายคำพูด เช่น “Hello world” หรือ "สวัสดีครับ" เป็นต้น คำสั่งภาษาจาวาที่ใช้แสดงข้อความบนหน้าจอนั้นมีอยู่หลายคำสั่งแต่ที่ควรจะ ใช้คือคำสั่ง printf() ซึ่งมีรูปแบบการใช้งานดังนี้ System.out.printf("ข้อความที่ต้องการแสดง"); คำสั่ง printf() แต่ละอันจะใช้แสดงหนึ่งบรรทัด ดังนั้นเมื่อต้องการให้เริ่มบรรทัดใหม่หลังการแสดงข้อความเราจะใช้รูปแบบต่อ ไปนี้ System.out.printf("ข้อความที่ต้องการแสดงหนึ่งบรรทัด%n"); คำสั่ง %n หมายถึง แทรกบรรทัดใหม่

ตัวอย่างโปรแกรม เราสามารถต่อข้อความเข้าด้วยกันโดยใช้เครื่องหมาย + public class MyApp { public static void main(String[] args) System.out.printf("Inf and Comm Engineering.%n"); System.out.printf("Faculty of Industrain Technology.%n"); System.out.printf("Thepsatri Rajabhat University.%n"); } เราสามารถต่อข้อความเข้าด้วยกันโดยใช้เครื่องหมาย + System.out.printf("สวัสดี" + “ชาววิศวกรรม%n"); จะให้ผลลัพธ์เหมือนกับ System.out.printf("สวัสดีชาววิศวกรรม%n");

การบ้าน ให้นักศึกษาเขียนโปรแกรมภาษาจาวา ให้สามารถแสดงชื่อนักศึกษาและข้อความอื่นตามต้องการอย่างน้อย 5 บรรทัด ให้นักศึกษาเขียนโปแกรมให้ผลการทำงานเป็นดังรูปด้านล่าง