ดร. วัฒนาพร ระงับทุกข์ รักษาการที่ปรึกษาด้านมาตรฐานการศึกษา

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา
Advertisements

โรงเรียนพัฒนาสู่มาตรฐานสากล สำนักบริหารงานการมัธยมศึกษาตอนปลาย
PCTG Model อริยมงคล 55.
กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี
ความหมายของสื่อการสอนและสื่อการเรียนรู้
โครงการนิเทศเต็มพิกัดโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน สู่การยกระดับคุณภาพการศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามุกดาหาร โดย ปรีชา พาลุกา ศึกษานิเทศก์
๑. เร่งปฏิรูปการเรียนรู้ทั้งระบบให้สัมพันธ์เชื่อมโยงกัน
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
แนวคิดการจัดการเรียนรู้ และมาตรฐาน งานการวัดและประเมินผล ในสถานศึกษา
สร้างสรรค์งานโดย ครูพงศ์ศักดิ์ อินปา
ภาพรวมของแนวคิดโครงงาน
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 หมวด 9 เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา
 การสอนแบบอภิปราย.
ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2544
งานวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้
ทิศทางการจัดการศึกษา โรงเรียนเจริญราษฏร์วิทยา
“ การส่งเสริมโรงเรียนต้นแบบเด็กไทยสุขภาพดี ”
สำนักบริหารงานการมัธยมศึกษาตอนปลาย
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องนโยบายการปฏิรูป การเรียนการสอนภาษาอังกฤษ
แล้วต้องทำอย่างไร ?.
ICT สู่ห้องเรียนคุณภาพ
ผู้อำนวยการสำนักงาน กศน. จังหวัดลพบุรี วิทยฐานะ เชี่ยวชาญ
ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน
การเสริมประสิทธิภาพการวัด และประเมินผลในชั้นเรียน
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
การวิจัยกับพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542
ยินดีต้อนรับสู่การอบรม ณ โรงเรียนสุรนารีวิทยา
รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์....มสธ
การรายงานผลการจัดการศึกษา เพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษา
การวัดประเมินผลแบบดั้งเดิม
โครงการพัฒนาห้องสมุด 3ดี
กรอบแนวคิดและแนวดำเนินงาน สำนักพัฒนากิจกรรมนักเรียน
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน
มาตรฐานการวัด การประเมินและ การประกันคุณภาพภายใน
นโยบายการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนขนาดเล็ก
การปลูกพืชผักสวนครัว
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการศึกษาพิเศษ
KM-QA งานประกันคุณภาพการศึกษา ขอนำเสนอ สาระสำคัญของ
งานฝาก... ฝากงาน รังสรรค์ มณีเล็ก รองเลขาธิการ กพฐ.
ภายใต้โครงการลงทุนด้านการศึกษาและการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ ตามแผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 แผนฟื้นฟูเศรษฐกิจ ระยะที่ 2 : โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา.
นโยบายการขับเคลื่อน ระบบการวัดและประเมินสมรรถนะผู้เรียน
สถาบันสอนภาษา I.C.E. ใช้มาตรฐานการเรียนการสอนของยุโรปที่ถือเป็นมาตรฐานภาษาสากลของโลกคือ CEFR (Common European Framework of Reference for Languages) หรือมาตรฐานการประเมินความสามารถทางภาษาซึ่งแต่เดิมสภายุโรปใช้ในโครงการ.
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
การยกระดับคุณภาพ การเรียนการสอนภาษาอังกฤษ
จุดเน้นการพัฒนาคุณภาพ สพป.สุพรรณบุรี เขต ๒
เล่าสู่กันฟัง ดร.รังสรรค์ มณีเล็ก
วันอังคารที่ 25 กุมภาพันธ์ 2557 ณ ห้องประชุมศรีสว่างรัตน์
การประเมินตามสภาพจริง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เรวดี กระโหมวงศ์
หลักสตรูแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551
การสอนกลุ่มใหญ่(Large Group Teaching)
จัดทำโดย น.ส. อมรทิพย์ พึ่งเพียร
การจัดการศึกษาต้องยึดหลักว่าผู้เรียน ทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และ พัฒนาตนเองได้และถือว่าผู้เรียนมี ความสำคัญที่สุด ดังนั้นในการจัดการ เรียนรู้และการดูแลช่วยเหลือพัฒนาผู้เรียนที่
การขับเคลื่อนนโยบายสู่การปฏิบัติ ของ
การเรียนวิทยาศาสตร์ของนักเรียน ส่วน หนึ่งมาจากนักเรียนมีพื้นฐานความรู้ ที่ แตกต่างกัน มีความสนใจและความสามารถ ในการรับรู้ แตกต่างกัน นักเรียนบางส่วน ขาดความตระหนักไม่เห็นความสำคัญของ.
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
การสอนโดยการแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม
กิจกรรมของสถาบัน ภาษาอังกฤษ ร่วมกับ สำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษา.
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
ศึกษาการสอนแบบการฟังและพูดของครูกับนักศึกษา
การตระหนักในการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน การสนับสนุนขององค์กร และศักยภาพในการจัดการเรียนการสอน ของครูวิทยาลัยอาชีวศึกษาเอกชน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
โดย นายสุรชัย ไตรบรรณ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก
ผลงานวิจัยเรื่อง “การพัฒนาความสามารถในการผลิตสื่อเพื่อการสื่อสารทางการตลาดโดยเน้นการฝึกปฏิบัติจริงในรายวิชาการสื่อสารทางการตลาดของนักศึกษา ชั้นปีที่ 2.
โครงการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศที่ดำเนินการในปีงบประมาณ 2553
ด้านครูและบุคลากรทางการศึกษา
สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีศรีธนาพณิชยการ เชียงใหม่
CIPP Model : การประกันคุณภาพ
กรอบแนวคิดการพัฒนาหลักสูตรช่วงชั้นที่ 3 และ 4
ดร. วัฒนาพร ระงับทุกข์ รักษาการที่ปรึกษาด้านมาตรฐานการศึกษา
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การนำนโยบายปฏิรูปการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ ตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการสู่การปฏิบัติ ดร. วัฒนาพร ระงับทุกข์ รักษาการที่ปรึกษาด้านมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน

เป้าหมายตามนโยบาย ขีดความสามารถในการแข่งขัน เตรียมความพร้อมเข้าสู่ AEC เสริมสร้างสมรรถนะและทักษะการใช้ภาษาอังกฤษให้นักเรียนใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารและเป็นเครื่องมือในการแสวงหาความรู้เพื่อการพัฒนาตน

1. ใช้กรอบมาตรฐานความสามารถทางภาษาอังกฤษที่เป็นสากล ได้แก่ The Common European Framework of Reference for Languages (CEFR) เป็นกรอบความคิดหลักในการจัด การเรียนการสอนภาษาอังกฤษของประเทศไทย A1 A2 B1 B2 C1 C2

A1 Breakthrough or beginner A2 Waystage or elementary ใช้ CEFR เป็นเป้าหมายการพัฒนานักเรียน พัฒนาหลักสูตร การเรียนการสอน และการทดสอบวัดผล A1 Breakthrough or beginner A2 Waystage or elementary B1 Threshold or intermediate B2 Vantage or upper intermediate

กำหนดระดับภาษาอังกฤษของนักเรียน CEFR เป็นเป้าหมายการพัฒนานักเรียนและพัฒนาหลักสูตรและการเรียนการสอน A1 จบ ป. 6 A2 จบ ม. 3 B1 จบ ม. 6 B2 C1 C2

ใช้ CEFR ในการพัฒนาครู ประเมินความสามารถของครู จัดกลุ่มตามระดับความสามรถทางภาษา พัฒนาอย่างต่อเนื่อง ทดสอบ

2.ปรับจุดเน้นการเรียนการสอนภาษาอังกฤษให้เป็นไปตามธรรมชาติของการเรียนรู้ภาษา โดยเน้นการสื่อสาร(Communicative Language Teaching: CLT) เริ่มจากการฟังตามด้วยการพูด การอ่าน และการเขียนตามลำดับ

3. ส่งเสริมให้มีการเรียนการสอนภาษาอังกฤษที่มีมาตรฐานตามกรอบมาตรฐานหลัก ใช้รูปแบบวิธีการที่แตกต่างกันได้ตามความพร้อมด้านครู สื่อ ผู้ปกครอง) ความพร้อมปานกลาง ความพร้อมน้อย ความพร้อมมาก

ระดับความพร้อมของสถานศึกษา ลักษณะ/สภาพ/ความพร้อม น้อย/ไม่มี โรงเรียนขนาดเล็ก ครูไม่ครบชั้น ไม่มีครูจบเอกภาษาอังกฤษ ครูไม่มีความถนัดในการจัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ ผู้ปกครองขาดความพร้อมในการสนับสนุน ขาดความพร้อมด้านสื่อ วัสดุอุปกรณ์ ปานกลาง โรงเรียนขนาดกลางขึ้นไป ครูครบชั้น และมีความพร้อมในการจัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษตามหลักสูตร ผู้ปกครองมีความพร้อมในการสนับสนุนพอสมควร มีสื่อและวัสดุอุปกรณ์เพียงพอ สูง โรงเรียนขนาดใหญ่ขึ้นไป ครูครบชั้น และมีความพร้อมในการจัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษตามหลักสูตรสูง ผู้ปกครองให้การสนับสนุนดีมาก มีสื่อและวัสดุอุปกรณ์ที่เพียงพอและทันสมัย

4. ส่งเสริมการยกระดับความสามารถ ในการใช้ภาษาอังกฤษ ขยายโครงการพิเศษด้านการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ (EP/MEP/EBE/EIS) การพัฒนาห้องเรียนพิเศษภาษาอังกฤษ (Enrichment Class) การจัดให้มีการเรียนการสอนวิชาสนทนาภาษาอังกฤษ

5. ยกระดับความสามารถในการจัดการเรียนการสอนของครูให้สอดคล้องกับวิธีการเรียนรู้ที่เน้นการสื่อสาร (CLT) และเป็นไปตามกรอบความคิดหลัก CEFR ประเมินความรู้พื้นฐานภาษาอังกฤษสำหรับครูสอนภาษาอังกฤษ จัดระบบการนิเทศ ติดตาม สนับสนุน ช่วยเหลือ จัดให้มีกลไกการเพิ่มประสิทธิภาพการเรียนการสอน จัดให้มีระบบการฝึกฝน และการสอบวัดระดับความสามารถออนไลน์

6. ส่งเสริมให้มีการใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษาเป็นเครื่องมือสำคัญในการช่วยพัฒนาความสามารถทางภาษาของครูและผู้เรียน ส่งเสริมการผลิต การสรรหา e-content, learning applications รวมถึงแบบฝึกและแบบทดสอบที่ได้มาตรฐานและมีคุณภาพ ส่งเสริมให้มีการใช้ช่องทางการเรียนรู้ผ่านโลกดิจิทัล การเพิ่มชั่วโมงเรียน การเรียนอย่างต่อเนื่องครึ่งวัน การจัดสภาพแวดล้อม/บรรยากาศที่ส่งเสริม/กระตุ้น