ความรับผิดชอบ ในวิชาชีพ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
และจรรยาบรรณของวิชาชีพครู
Advertisements

บทบาทและหน้าที่ของนักคอมพิวเตอร์
การปฏิบัติหน้าที่ของครูที่ปรึกษา
ระบบการประเมินเพื่อพัฒนาผลการปฏิบัติงาน บุคลากรสายสนับสนุน
สหกิจศึกษาทางรัฐศาสตร์
เทคนิคการบริหารงานด้านการเงินและบัญชี
ความหมาย ปรัชญาและวัตถุประสงค์ ของงานส่งเสริมการประมง
การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ( Human Resource Development )
พัฒนาข้าราชการบรรจุใหม่อย่างเป็นระบบ (The Civil Service Academy)
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยพนักงานราชการ พ.ศ. 2547
การปรับปรุงโครงสร้างภายในกองพัสดุ เสนอที่ประชุม
รองผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
นางสาวรัชดา สุทธิวรวุฒิกุล
ประเด็นบรรยาย เรื่อง บทบาทและอำนาจหน้าที่ตามกฎหมาย ของผู้ตรวจการสหกรณ์
ที่ว่าการอำเภอปะนาเระ
รายงานการปฏิบัติงานสหกิจศึกษา
สถาบันวิชาชีพครู และองค์กรวิชาชีพครู
จรรยาบรรณวิชาชีพ.
มาตรฐานวิชาชีพครู.
วิชาชีพครูไทยในปัจจุบันและอนาคต
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการพัฒนาครูและวิชาชีพครู
ประเด็นที่เกี่ยวข้องกับเกณฑ์ฯ
ผู้อำนวยการสำนักงาน กศน. จังหวัดลพบุรี วิทยฐานะ เชี่ยวชาญ
การปฏิรูปการส่งเสริม และการจัดการศึกษาตลอดชีวิต
แนวปฏิบัติ การขอกำหนดตำแหน่งให้สูงขึ้น ของบุคลากรสายปฏิบัติการ
ลักษณะและประเด็นวิจัย สำหรับคณาจารย์สถาบันอุดมศึกษา
การนำนโยบายจรรยาบรรณ ลงสู่การปฏิบัติในระดับคณะ/หน่วยงาน
สำนักส่งเสริมและ พิทักษ์เด็ก
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสำนักงาน และการบริหารงานสำนักงาน
ภารกิจและนโยบาย 6 ยุทธศาสตร์ 35 กลยุทธ์ ของ ส.อ.ศ. บัญญัติ สมสุพรรณ
การกำหนดความรู้ความสามารถ ทักษะ และสมรรถนะที่จำเป็นสำหรับตำแหน่ง
มาตรฐานทางคุณธรรมและจริยธรรม ของ ผู้ตรวจราชการและหน่วยงานที่รับการตรวจราชการ สุรศักดิ์ แสงอร่าม รองเลขาธิการ ส.ป.ก. 21 ต.ค
แนวทางการดำเนินงานศูนย์พัฒนาวิชาการ
โดย วัชรินทร์ จำปี รองเลขาธิการ กศน.
ให้ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ผู้อำนวยการชำนาญการพิเศษ
การพิจารณาเลื่อนขั้นเงินเดือน/ ค่าจ้างประจำ
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน
งานกิจกรรมเพื่อพัฒนานักศึกษา
รายละเอียดประสบการณ์ภาคสนาม (Field Experience Specification)
การบริหารงานบุคลากร ภาครัฐแนวใหม่
การบริหารทรัพยากรบุคคล
(ร่าง) แผนปฏิบัติราชการประจำปี 2553 สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
วิชาวิศวกรรมความรู้ - การจัดการความรู้เพื่อพัฒนาองค์กร
นโยบายการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนขนาดเล็ก
นางสาวณัฏฐณิชา โพธิ์งาม
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
หมายเหตุ : หน้าแรกแล้วแต่ท่านจะออกแบบนะครับ
บทบาทหน้าที่ และคุณลักษณะ ของผู้ติดตามตรวจสอบและประเมินคุณภาพการศึกษา
พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย
คุณลักษณะเฉพาะของผู้ประกอบอาชีพ
มาตรฐานตัวบ่งชี้ การประเมินคุณภาพภายนอก
บทบาทนายหมายเลข ๑ ผู้บังคับบัญชา ผู้บริหาร ผู้นำ ผู้ประสานงาน.
โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากร “ การนิเทศการศึกษา ” สำนักงาน กศน. จังหวัด กำแพงเพชร 11 – 13 มีนาคม 2552 ณ สำนักงาน กศน. จังหวัด กำแพงเพชร
การฝึกประสบการณ์วิชาชีพในหน่วยงานราชการ ณ ส่วนแผนงานและพัฒนางานประชาสัมพันธ์ สำนักประชาสัมพันธ์เขต 3 เชียงใหม่
สัมมนาการพัฒนาหลักสูตรและการเรียนการสอนสำหรับท้องถิ่น
จรรยาบรรณ นางสาวสมลักษณ์ ลวดเงิน พนักงานพัฒนากองทุนหมู่บ้าน
โรงเรียนโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่
การบริหารงานบุคคล นายสัจจา วงศาโรจน์ ผู้อำนวยการกลุ่มการเจ้าหน้าที่ สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย.
ความเป็นครู.
1 ครูได้รับการพัฒนาความรู้และสมรรถนะผ่านการปฏิบัติจริง และความช่วยเหลืออย่างต่อเนื่อง
การประกวดแข่งขันผลงานวิจัย และนวัตกรรมสื่อสารสอนทางอาชีวศึกษา
โดย นางสาวพอใจ สาธุการ
แผนการดำเนินงาน หน่วยงานการพยาบาลวิสัญญี
พุทธปรัชญา ความเป็นมา พุทธศาสนาเป็นศาสนาประจำชาติ
แนวทางการพัฒนาทรัพยากรบุคคล
เงินตอบแทน การปฏิบัติงานนอกเวลา
สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีศรีธนาพณิชยการ เชียงใหม่
โดย ดวงวรพร สิทธิเวทย์ ภารกิจ นโยบายและยุทธศาสตร์การวิจัย (Office of Research Policy and Strategy)
โครงการจัดตั้งสายวิชาบริหารธุรกิจและเศรษฐศาสตร์
หลักการบริหารงานบุคคลตามระบบคุณธรรม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ความรับผิดชอบ ในวิชาชีพ นายณัฏฐพล แสงศรีจันทร์ ผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาน่าน เขต 1

ความรับผิดชอบ ความรับผิดชอบ (Accountability) หมายถึง ความสามารถในการแสดงออกถึงความเกี่ยวข้องของตนเองตามบทบาทหน้าที่ของตน ในกรณีที่เกิดปัญหาหรือความผิดพลาดขึ้นแล้วต้องกำหนดแนวทางการแก้ไขปัญหาโดยไม่ปัดภาระให้ผู้อื่นหรือหน่วยงานอื่น

ความแตกต่าง ระหว่าง บทบาท หน้าที่ และ ความรับผิดชอบ ความรับผิดชอบ (Accountability) เป็นคุณสมบัติที่เชื่อถือได้ของบุคคลในการปฏิบัตงานและหน้าที่ที่ได้รับหมอบหมายให้ดีที่สุดตามความสามารถของตน อาจทำตามคำสั่ง กฎหมาย หรือความรู้สึกสำนึกดีของบุคคลก็ได้

ความแตกต่าง ระหว่าง บทบาท หน้าที่ และ ความรับผิดชอบ บทบาท (Role) หมายถึง การกระทำตามหน้าที่ที่บุคคลได้รับมอบหมายให้กระทำ หน้าที่ (Duty) หมายถึง ภารกิจที่ต้องทำตามกฎหมาย หรือข้อตกลงขององค์กร

วิชาชีพ วิชาชีพ (Profession) หมายถึง การประกอบอาชีพ เต็มเวลา ต้องใช้การศึกษาและประสบการณ์ในระดับสูง ซึ่งมีค่าตอบแทนในวิชาชีพ ดังนั้น ผู้ประกอบวิชาชีพจะต้องมีความรู้ ทักษะในการประกอบอาชีพนั้น ๆ ต้องได้รับการฝึกอบรมหรือการศึกษาตรงตามสาขาวิชาชีพ

ความรับผิดชอบในวิชาชีพ ความสามารถในการแสดงออกบทบาทหน้าที่ของตน ยึดมั่นหมั่นในกฎเกณฑ์ของการประกอบวิชาชีพ ปฏิบัติงานและให้บริการด้วยจิตสำนึกในวิชาชีพ สามารถแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นด้วยตนเอง รับทั้งผิดและชอบ

ความรับผิดชอบตามมาตรฐานตำแหน่ง ข้าราชการครู ของคุรุสภา ได้แก่ ความรับผิดชอบของครู ความรับผิดชอบตามมาตรฐานตำแหน่ง ข้าราชการครู ของคุรุสภา ได้แก่ 1. ปฏิบัติงานเกี่ยวกับการเรียนการสอน การดูแลให้คำแนะนำต่าง ๆ 2. ให้บริการแก่สังคมในด้านวิชาการและด้านอื่น ๆ

3. ศึกษาวิจัย วิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับการศึกษา ความรับผิดชอบของครู 3. ศึกษาวิจัย วิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับการศึกษา 4. นิเทศในสาขาวิชาที่รับผิดชอบ 5. งานด้านธุรการ และงานบริการของสถานศึกษา 6. ปฏิบัติหน้าที่อื่น ๆ ตามที่ได้รับมอบหมาย

หน้าที่และความรับผิดชอบของครู หน้าที่และความรับผิดชอบตามมาตรฐานตำแหน่ง ข้าราชการครู ของคุรุสภา ได้แก่ 1. สอนศิลปวิทยาให้แก่ศิษย์ 2. แนะแนวการศึกษาวิชาชีพให้แก่ศิษย์ 3. พัฒนาและส่งเสริมความเจริญก้าวหน้า ของศิษย์

หน้าที่และความรับผิดชอบของครู 4. ประเมินความก้าวหน้าของศิษย์ 5. อบรมคุณธรรมจริยธรรม ความมีระเบียบวินัย 6. ปฏิบัติตามกฎระเบียบ 7. ตรงต่อเวลา 8. ปฏิบัติหน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพ 9. ส่งเสริมและพัฒนาตนเอง