โรคหลอดเลือดสมองเสื่อม

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
Advertisements

แบบนำเสนอผลงานโครงการ
การพัฒนาระบบการส่งต่อโรคเรื้อรังใกล้บ้านใกล้ใจ โรงพยาบาลท่ายาง อำเภอท่ายาง จังหวัดเพชรบุรี กฤษณา เปรมศรี 10 มกราคม
องค์การบริหารส่วนตำบลบ้านบึง
นำเสนอโดย นางสงวนศรี พลดอน พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ กลุ่มงานเวชกรรมสังคม โรงพยาบาลปัตตานี
รูปแบบการดำเนินกิจกรรมฟื้นฟูหลังน้ำท่วม
กายภาพบำบัด ใน โรงพยาบาลสร้างเสริมสุขภาพตำบล
แผนการดำเนินงาน สคร.5 ลำดับที่ กิจกรรม ระยะเวลาดำเนินการ หมายเหตุ 1
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านพระแท่น ตำบลพระแท่น อำเภอท่ามะกา จังหวัดกาญจนบุรี รับผิดชอบดูแลพื้นที่ 16 หมู่บ้าน 1 อบต. 1 เทศบาล มีประชากร 9,054 คน.
ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
หน่วยที่ 7 บทบาทพยาบาลในการส่งเสริมสุขภาพ
สถานีอนามัยสมอพลือ อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี.
ตัวชี้วัดการดำเนินงานความปลอดภัยด้านอาหาร สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ
การป้องกันควบคุมโรคขาดสารไอโอดีน
ภาพรวมการจัดสรรงบประมาณในแต่ละโครงการของศูนย์ สช. ภาคกลาง ปี 2555
ระบบอันพึงประสงค์และการจัดบริการ อาชีวอนามัยในสถานีอนามัย
การบริหารงบบริการสร้างเสริมสุขภาพและ ป้องกันโรคทั่วไป (ยกเว้นค่าบริการทันตกรรมส่งเสริมป้องกัน)
ผลการพัฒนาระบบการคัดกรองภาวะแทรกซ้อนทางไตในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
แนวคิด การดำเนินงาน โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
การประชุมเชิงปฏิบัติการใช้ค่ากลาง
นโยบายการดำเนินงานโรคเรื้อรัง ตัวชี้วัด: จังหวัดมีการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคเรื้อรัง (สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย) ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน โดย รัตนาภรณ์ ฮิมหมั่นงาน.
การสำรวจหา ค่ากลาง นโยบายรัฐบาล เรื่องการพัฒนาสุขภาพของ ประชาชน ประกาศเมื่อ 23 สิงหาคม จัดให้มีมาตรการสร้างสุขภาพโดยมี เป้าหมายเพื่อลดอัตราป่วย.
งานโรคไม่ติดต่อ กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครราชสีมา
นโยบาย และแนวทางการแก้ไขปัญหาโรคเบาหวาน ระดับประเทศและภูมิภาค
การดูแลผู้ป่วยเบาหวานครบวงจร ศูนย์แพทย์ชุมชนมะค่า
แนวทางการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล เขต 5
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและโอกาสพัฒนาในโครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต 10 สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10 เชียงใหม่
การดูแล ผู้ติดเชื้อ / ผู้ป่วยเอดส์ ตำแหน่ง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
ผลการเฝ้าระวัง และป้องกันความล้มเหลวในการรักษาในโรงพยาบาลระโนด จ. สงขลา โดย นส.จาฤดี กองผล, นางละมัย ช่วยแดง พยาบาลประจำคลินิกยาต้านไวรัสโรงพยาบาลระโนด.
ชุมชนคลองตาแป้น ศูนย์บริการสาธารณสุข 62 ตวงรัชฏ์ ศศะนาวิน ภักดี ฐานปัญญา
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
บทสรุปสำหรับผู้บริหาร
การพัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
นายแพทย์ไพจิตร์ วราชิต รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
สรุปการประชุม เขต 10.
ภารกิจ อสม.งานประจำ/งานนโยบาย
นโยบาย ปฐมภูมิ ลดแออัด พัฒนาคุณภาพบริการ
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
โครงการ/กิจกรรมสำคัญในปี 2557 สิ่งที่ CUP/อำเภอดำเนินการ
การป้องกันภาวะไตวาย ประกอบด้วย 2 โครงการ 1. โครงการป้องกันภาวะไตวาย จ
แผนงานป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
คลินิกผู้สูงอายุต้นแบบ (Geriatric Clinic Model) โรงพยาบาลอุดรธานี
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
แนวทางการดำเนินงานเกษตรกรปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข
โรงพยาบาลสุรินทร์ จังหวัดสุรินทร์
โรงพยาบาลจิตเวชขอนแก่นราชนครินทร์
การจัดบริการสุขภาพ ผู้สูงอายุไทย
การประเมินคลินิกNCD คุณภาพ
การเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ
องค์ประกอบและระยะเวลาที่ เปลี่ยนแปลง  จากมีวาระ 2 ปี เป็น 4 ปี  เพิ่ม ผู้แทนหน่วยรับเรื่องร้องเรียน อิสระ หรือศูนย์ประสานงานภาค ประชาชน หรือองค์กรเอกชนด้าน.
การพัฒนางานวิกฤตสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2558
นิยาม ศูนย์ให้คำปรึกษาคุณภาพ (Psychosocial Clinic) หน่วยบริการระดับโรงพยาบาลชุมชนที่มีการจัดบริการดูแล ช่วยเหลือทางสังคมจิตใจทุกกลุ่มวัย โดยมีองค์ประกอบ.
การดำเนินงานสุขภาพจิตเครือข่าย ในเขตสุขภาพที่10 ปีงบประมาณ 2558
คปสอ.ยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ ผลงานรอบที่ 1/2555.
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
NCD เขตบริการสุขภาพที่ 1.
แผนฟื้นฟูผู้ประสพอุทกภัย โครงการสายใยรักแห่ง ครอบครัวในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร.
การพัฒนางานสุขภาพจิต วัยทำงาน - สูงอายุ
มาตรการป้องกันควบคุม โรคติดต่อในช่วงฤดูฝน - ให้คปสอ. ทุกแห่งเร่งรัดดำเนินการดังนี้ ๑. การป้องกัน (Protection) ๑. ๑ สนับสนุนการฝึกอบรมแก่บุคลากรทางการแพทย์ด้านการ.
นำเสนอโดย นพ.ณรงค์ สายวงศ์ รองอธิบดีกรมอนามัย
การดำเนินงานดูแลผู้ป่วยต้อหิน จังหวัดร้อยเอ็ด 2011
โรงพยาบาลมหาราชนครศรีธรรมราช
นวัตกรรม7สี ปันรัก ไกลโรค ปี2556
แนวทางการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ
สถานการณ์โรคติดต่อ อำเภอกำแพงแสน
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
เกณฑ์การประกวดอำเภอดีเด่น ด้านการป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ
ขับเคลื่อนงานด้านโรคไม่ติดต่อ และการบาดเจ็บ
สำนักงานป้องกันควบคุม โรคที่ 2 จังหวัดสระบุรี. แรงบันดาลใจ  การกระจายอำนาจให้แก่องค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นเข้ามามี บทบาทในการให้บริการ สาธารณะ  ประชาชนสามารถดูแลสุขภาพ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โรคหลอดเลือดสมองเสื่อม การป้องกันและควบคุม โรคหลอดเลือดสมองเสื่อม

การดำเนินงานป้องกันและควบคุม stoke ขั้นเตรียมการ ประชุมปรึกษากับผู้ที่เกี่ยวข้องภายใน CUP ซึ่งประกอบด้วย - งานผู้ป่วยนอก - งานเวชปฏิบัติครอบครัวและชุมชน - เจ้าหน้าที่สถานีอนามัยทั้ง 7 ตำบล

วัตถุประสงค์ 1. บุคคลที่อยู่ในกลุ่มเสี่ยงได้รับการคัดกรองประเมินโอกาสเสี่ยงเบื้องต้นต่อการเป็นอัมพฤกษ์ อัมพาต 2. ประชาชน ในพื้นที่ได้รับข่าวสารเตือนภัยและแนวทางการปฏิบัติเพื่อป้องกันโรคอัมพฤกษ์ อัมพาต 3. ครอบครัวของผู้ที่อยู่ในกลุ่มเสี่ยงได้รับข้อมูลโรค การควบคุมปัจจัยเสี่ยงเพื่อเป็นการสนับสนุนในการดูแลตนเองและกลุ่มเสี่ยง

เป้าหมาย ผู้มีอายุ 40 ปีขึ้นไป และมีปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง (ร้อยละ80) ผู้ป่วยที่เป็น โรคเบาหวานและ โรคความดันโลหิตสูง ในพื้นที่ (ร้อยละ 100) ประเมินโอกาสเสี่ยงเบื้องต้น โรคอัมพฤกษ์ อัมพาต

ขั้นดำเนินการ 2. เตรียมชุมชน : อบรมแกนนำ หรือ อสม. เกี่ยวกับโรค 1. เตรียมข้อมูลผู้ที่อายุ 40 ปีขึ้นไป และข้อมูลผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานในพื้นที่รับผิดชอบ 2. เตรียมชุมชน : อบรมแกนนำ หรือ อสม. เกี่ยวกับโรค 3. ประเมินโอกาสเสี่ยงเบื้องต้นโรคอัมพฤกษ์ อัมพาต - ในสถานบริการ : เจ้าหน้าที่โรงพยาบาลและสถานีอนามัย - ในชุมชน : แกนนำและอสม.ประเมินในเบื้องต้น หรือการเยี่ยมบ้าน

ขั้นดำเนินการ (ต่อ) 4. ประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับโรคและการดูแลป้องกัน 5. ให้สุขศึกษารายกลุ่มและรายบุคคล 6. ให้คำปรึกษารายบุคคล 7. ดูแลกลุ่มผู้ที่ป่วยด้วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงให้ได้รับการรักษาอย่างต่อเนื่องด้วยการติดตามนัด (ลดเสี่ยง)

ผลกระทบจากสถานการณ์น้ำท่วม อัตราการขาดนัดของผู้ป่วย เกณฑ์ ร้อยละ3

ผลกระทบจากสถานการณ์น้ำท่วม ระดับน้ำตาลในผู้ป่วยกลุ่มUncontrol (FBS>180) เกณฑ์ที่ร้อยละ 10

การลดเสี่ยงช่วงสถานการณ์น้ำท่วม

การดำเนินงานภายหลังน้ำลด สอดแทรกกิจกรรมการประเมินstoke ในการออกหน่วยเคลื่อนที่ฟื้นฟูหลังน้ำลด นอกเหนือจากการลดเสี่ยงโดยการให้ข้อมูลข่าวสารแล้ว ยังให้คำปรึกษาเพื่อลดภาวะเครียดของกลุ่มเป้าหมาย บันทึกข้อมูลลงในโปรแกรม

สรุปผลการประเมิน แบบประเมินเบื้องต้น แบบ ลดเสี่ยง ปกติ (คน) สูง สูงปานกลาง สูงมาก แบบประเมินเบื้องต้น 92 (44.44%) 62 (29.95%) 56 (24.15%) 3 (1.45%) แบบ ลดเสี่ยง - 45 20 ระดับ ความเสี่ยง ชนิดแบบประเมิน

สรุปผลการดำเนินงาน 1.จากปัญหาน้ำท่วมทำให้การดำเนินงานต่างๆไม่เป็นไปตามแผนต้องปรับเปลี่ยนตามสถานการณ์ 2.ภายหลังน้ำลดพบว่าผู้ป่วยมีระดับน้ำตาลสูงขึ้น: ขาดยา ขาดนัด 3.พบผู้มีความดันโลหิตสูงรายใหม่เพิ่มขึ้น 4.การดำเนินงานใดๆหากมีการร่วมมือ ประสานงานภายใน CUP ที่ดีประสานงานองค์กรส่วนท้องถิ่นและชุมชนดี ย่อมที่จะประสบผลสำเร็จได้ดี

ข้อเสนอแนะ 1. สามารถนำผลการประเมินไปจัดกิจกรรมให้กับกลุ่มเสี่ยงแต่ละกลุ่มได้ เหมาะสม และนำเป็นผลงานวิชาการได้ 2.การให้ข้อมูลกับกลุ่มเป้าหมายควรเน้นด้านความตระหนัก และการรับรู้ต่อโอกาสเสี่ยงของการเกิดโรค , ความรุนแรงของโรค และเสริมแรงจูงใจในการดูแลสุขภาพ 3.การบันทึกข้อมูลในโปรแกรมที่ต้อง On line นั้นล่าช้ามาก ควรจะปรับเป็นโปรแกรมที่สำเร็จ ( Off line) แล้วจึง Export ข้อมูลส่งทาง Web หรือ แผ่น Dish