๑.เทคนิคสำคัญ ใช้กระบวนการมีส่วนร่วม โดยให้แกนนำในพื้นที่เข้ามามีส่วนร่วมเป็นวิทยากร ใช้กิจกรรมนันทนาการจุดประกายขณะเปิดเวที เช่น เพลง “สดุดีมหาราชา” รูปแบบเวทีเป็นธรรมชาติ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
Advertisements

สื่อการสอนโดยใช้โปรแกรม Power Point
รายงานข้อสั่งการ ข้อสั่งการ ๑. การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ
หลักเกณฑ์การวิเคราะห์ความเสี่ยง ตามหลักธรรมาภิบาล
โครงการริเริ่มสร้างสรรค์เพื่อขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชุมชน ปี ๒๕๕๗
ปทิตตา มีชิตสม นักวิชาการพัฒนาชุมชนชำนาญการ
การทำงานเชิงรุกและการส่งต่อ
( สมุทรสงคราม สมุทรสาคร เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ )
วัตถุประสงค์การเชื่อมโยงเครือข่าย
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
การเฝ้าระวังกับนโยบายสังคม
การวางแผนและ การจัดทำ IT Audit
สะท้อนประสบการณ์ / ถอดบทเรียน
โรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน (รนสช.)
ภาพรวมการจัดสรรงบประมาณในแต่ละโครงการของศูนย์ สช. ภาคกลาง ปี 2555
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูล จปฐ. และ ข้อมูลพื้นฐาน ปี 2557
กรมการพัฒนาชุมชน พันธกิจ วิสัยทัศน์ ประเด็นยุทธศาสตร์ วิสัยทัศน์
บทบาทเจ้าหน้าที่ในการจัดเวทีประชาคมและเสริมสร้างครอบครัวพัฒนา
กลุ่มงานส่งเสริม การพัฒนาทุน
แผนปฏิบัติการยะลาเข้มแข็ง ผู้ว่าราชการจังหวัดยะลา
การจัดทำคู่มือ การปฏิบัติงาน Work Manual
การพัฒนากลุ่มแม่บ้านเกษตรกร เป็นเกษตรกรปราดเปรื่อง (Smart Farmer)
ยิ้มก่อน ทักก่อน ไหว้ก่อน
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ความก้าวหน้าการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สูการปฏิบัติ
ถอดบทเรียนความก้าวหน้า ในการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สู่การปฏิบัติ
เอกสารประกอบการประชุมผู้บริหารกรมควบคุมโรค
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
1 การจับความรู้ที่เกิดขึ้นหลังการทำกิจกรรม ของทีมทำงานรวมทั้งทบทวนและสะท้อน บทเรียนนำไปสู่การวางแผนต่อไป การให้ข้อมูลป้อนกลับอย่างเป็นระบบกับ ทีมงานในเรื่องผลการปฏิบัติ
การเก็บข้อมูลสู่ฐานข้อมูลและ การนำไปใช้กรณีตัวอย่างข้อมูลจากปะเหลียน
แผนยุทธศาสตร์กองทัพเรือ พ.ศ.๒๕๕๕ - ๒๕๕๘
การสร้างแผนที่ยุทธศาสตร์ปฏิบัติการย่อย (Mini-SLM)
การรายงานความก้าวหน้าในระบบ
แนวทางการดำเนินงาน ปี ๒๕๕๕
กลุ่ม ๓ ชื่อ กลุ่ม....สามซ่าๆๆ.
การปฏิบัติตามแนวทางถ่ายโอนภารกิจฯ จังหวัดเพชรบูรณ์ 1
กลุ่มที่ 1.
กลุ่มที่ ๔ “ รวมมิตรพิชิต ศูนย์ ” ® วิธีการ/แนวทางการ ปฏิบัติงาน และพัฒนาส่งเสริม การเกษตร ในระดับพื้นที่ร่วมกัน.
กลุ่ม 3 ผู้นำเสนอ นายปรีชา คงเกลี้ยง เกษตรอำเภอเมืองชลบุรี
กรมฯอบรมการสร้างวิทยากรระดับจังหวัด
แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 10 เน้นชุมชนให้มี การพัฒนา ระบบสุขภาพ อย่างครบวงจรใน รูปเครือข่าย โครงการพัฒนา เครือข่ายฯ ประสานจังหวัด เลือกผู้นำชุมชน / ผู้สื่อข่าว.
การสัมมนากลุ่ม 3 ความสำเร็จในการจัดทำแผนงาน/โครงการ
ระบบส่งเสริมการเกษตร
การจัดทำแผนพัฒนาการเกษตรระดับตำบล
โครงการการพัฒนางานเชิงระบบ โดยกระบวนการวิจัยในงานประจำ (R2R)
โครงการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้แบบมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน
แนวทางในการประเมินความพร้อม เพื่อสนับสนุนการดำเนินงานตามนโยบาย
เพื่อรองรับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน
โดย นายแพทย์วุฒิไกร มุ่งหมาย นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดอุบลราชธานี
การจัดทำแผนยุทธศาสตร์อำเภอชุมพลบุรี
เทคนิคการจัดเวทีประชาคม
จัดการความรู้เรื่องอะไร ? มีองค์กรใดบ้างที่ตั้งแต่ทำงานมา ไม่ได้ใช้ความรู้ อะไรเลย ? หรือ มีองค์กรใดบ้างที่ไม่เคยรู้ว่ามี ความรู้อะไรบ้างที่จำเป็นสำหรับการทำงานใน.
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
ตัวชี้วัด ร้อยละของเทศบาลและองค์การบริหารส่วนตำบล ที่นำแผนชุมชนสู่การพัฒนาท้องถิ่นได้ตามเกณฑ์ที่กำหนด.
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
เทคนิคการรวบรวมข้อมูล
จังหวัดนราธิวาส โครงการบำบัดทุกข์ บำรุงสุข แบบ ABC
4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
อาจารย์สันติ อภัยราช อาจารย์ ๓ ระดับ ๙ นิติศาสตรบัณฑิต การศึกษาบัณฑิต
การบริหารการจัดเก็บ ข้อมูล จปฐ. ปี 2558
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลพื้นฐาน ปี 2558
รายละเอียดของระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
กลุ่มที่ 2 กลุ่มพัฒนาภาคีเครือข่าย สคร.1-12
จุดเน้น ด้านการบริหารจัดการ
ระดับกระทรวง / กลุ่มภารกิจ / กรม
แนวทางพัฒนางานประจำ สู่งานวิจัย
โครงการจัดตั้ง กองแผนงาน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

๑.เทคนิคสำคัญ ใช้กระบวนการมีส่วนร่วม โดยให้แกนนำในพื้นที่เข้ามามีส่วนร่วมเป็นวิทยากร ใช้กิจกรรมนันทนาการจุดประกายขณะเปิดเวที เช่น เพลง “สดุดีมหาราชา” รูปแบบเวทีเป็นธรรมชาติ มีผู้อาวุโสในชุมชนเป็นประธานเปิด เล่าเรื่องดีๆ ของชุมชนในอดีต เป็นประเด็นจุดประกายให้ชุมชนตระหนักถึงคุณค่าสิ่งดีงาม ในอดีตที่บรรพบุรุษรักษาไว้ ตั้งประเด็นข้อสังเกต หรือคำถาม หรือนำไปสู่การค้นหา ข้อมูลด้านต่างๆ ของชุมชน

๒.ข้อพึงระวัง ในขณะวิทยากรดำเนินการในเวที ให้ความเท่าเทียมเป็นกันเอง ไม่ชี้ผิดชี้ถูกกับประเด็นแลกเปลี่ยนของสมาชิกชุมชนที่เสนอ ควบคุมเวลาให้อยู่ในชั่วโมงของเนื้อหาแต่ละประเด็น และสรุปจบ ให้เห็นความเชื่อมโยงเกี่ยวเนื่อง วิทยากรเป็นผู้ตื่นตัวทุกเวลา พร้อมและสามารถที่จะแก้ไขปัญหา เฉพาะหน้าในเวทีให้ลื่นไหล ไม่ติดขัด วิทยากร ทำหน้าที่เป็นคนกลางไกล่เกลี่ย กรณีมีประเด็นข้อเสนอแนะ ที่ออกมาในเชิงขัดแย้งกัน

๓.หลักพิจารณานำเอาข้อมูล เพื่อมาวิเคราะห์ยกร่างและจัดทำแผน ข้อมูลเดิมจากหน่วยงานอื่นๆ ที่จัดเก็บ เช่น จปฐ. 1-2 ข้อมูลจาก แผนประชาคมของ อปท. ข้อมูลปัจจุบันที่ได้มาจากกระบวนการ สำรวจข้อมูลตามแบบสำรวจ ที่คณะวิทยากรกับชุมชนร่วมกันจัดทำขึ้น * เหตุที่ใช้ฐานข้อมูลจาก 2 แหล่ง เพื่อให้เห็นข้อเปรียบเทียบ บนความเปลี่ยนแปลงตามบริบทพื้นที่ เช่น จำนวนประชากร/สถานที่/ ผังโครงสร้าง/ภายในชุมชน/รายรับ-รายจ่าย รวม และหนี้สินของชุมชน ให้เป็นปัจจุบัน มาวิเคราะห์ยกร่างจัดทำแผนพัฒนาหมู่บ้าน

๔.รูปแบบการจัดเวทีประชาพิจารณ์ เพื่อให้ผลดีต่อการจัดทำแผนพัฒนาหมู่บ้าน มีคณะทำงานรับผิดชอบกำหนดแผนในการจัดเวที เช่น การเตรียมประสาน ผู้เกี่ยวข้องเข้าร่วมทุกฝ่าย อบต. ปราชญ์ผู้รู้ ผู้นำกลุ่มองค์กรในชุมชน เตรียมสื่อ เครื่องมือ/อุปกรณ์ ที่จำเป็นต้องใช้เพียงพอ/งบสนับสนุน ทีมงานที่จดบันทึกประเด็นในเวที * ข้อดี เป็นเวทีที่เปิดกว้างให้ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องได้วิพากษ์ข้อมูลต่างๆ ที่จะนำมายกร่างเป็นแผน ขณะเดียวกันข้อมูลที่บกพร่อง/ผิดพลาด จะได้ปรับปรุงแก้ไข * ข้อจำกัด ถ้ากลุ่มเป้าหมายที่เชิญ ไม่สามารถเข้าร่วมได้ครบ จะทำให้ การจัดทำแผนพัฒนาหมู่บ้าน/ชุมชน ไม่ครอบคลุม และแผนฯ ไม่ถูกยอมรับ

๕.กระบวนการทบทวน/ปรับปรุง แผนพัฒนาหมู่บ้าน กรณีที่เป็นแผนงานโครงการที่ต้องให้หน่วยงานท้องถิ่นและภายนอก สนับสนุนถ้าผลการติดตามประเมินแล้วเห็นว่า แผนงานโครงการไม่เป็นไป ตามความต้องการของชุมชน อันเป็นเหตุให้แผนฯ ไม่บรรลุเป้าประสงค์ สามารถนำแผนกลับมาทบทวนใหม่ โดยใช้กระบวนการเวทีแบบเดียวกับ เวทีประชาพิจารณ์ ข้อจำกัด ถ้าต้องการปรับปรุงแผนงาน ไม่ผ่านกระบวนการในเวที จะเกิด ความไม่โปร่งใส แผนงานโครงการ อาจไปเอื้อประโยชน์ให้แก่กลุ่มบุคคล

๖.ภารกิจของทีมวิทยากรกระบวนการระดับจังหวัด จัดทำแผนปฏิบัติการเพื่อขับเคลื่อนงานที่ได้รับมอบหมาย เช่น แผนการอบรมเพิ่มศักยภาพ กม. ระดับอำเภอ แผนงานการคัดเลือก หมู่บ้าน กม. ต้นแบบ ภายในจังหวัด จัดเวทีสร้างความเข้าใจให้แก่ทีมวิทยากรกระบวนการระดับอำเภอนำเสนอ ทิศทาง แนวนโยบายจากหน่วยงานส่วนกลาง (ปค.) กำหนด แผนปฏิบัติการร่วมระดับอำเภอ เพื่อขับเคลื่อนงานของ กม. ให้บรรลุเป้าประสงค์ตามภารกิจ ที่ได้รับมอบหมาย

สนับสนุนแผนงานของทีม กม. ระดับอำเภอ ที่จะขับเคลื่อนต่อ ในพื้นที่ โดยเป็นพี่เลี้ยง และเอื้ออำนวยทรัพยากรให้กับทีม วิทยากร กม. ระดับอำเภอ/ตำบล/หมู่บ้าน ตั้งทีมติดตามประเมินผลเชิงพัฒนา (ไม่ใช่จับผิด)