วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก(อี วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก(อี.เทค) การแข่งขันทักษะวิชาชีพ ครั้งที่ 28 สาขา งานไฟฟ้ารถยนต์ อ.เอกรัฐ นาที 081-0025442
สาขา งานไฟฟ้ารถยนต์ แบ่งการแข่งขันออกเป็น 4 สถานีๆละ 10 นาที แบ่งการแข่งขันออกเป็น 4 สถานีๆละ 10 นาที สถานีที่ 1 งานไฟแสงสว่าง (แผงฝึก) สถานีที่ 2 งานไฟสัญญาณ (รถยนต์ NISSAN ) สถานีที่ 3 งานตรวจวัดอุปกรณ์ระบบจุดระเบิดแบบทรานซิสเตอร์ สถานีที่ 4 งานตรวจสอบ/บำรุงรักษาและวิเคราะห์สภาพแบตเตอรี่
สถานีที่ 1 งานไฟแสงสว่าง คำสั่ง : ให้ผู้เข้าแข่งขัน 1. ตรวจหาขั้วของ วงจรไฟแสงสว่าง และวงจร ไฟสูง - ต่ำ ที่สวิทช์คอพวงมาลัยด้วยมัลติมิเตอร์แล้วกำหนดขั้ว และเขียนไดอะแกรมควบคุมวงจรลงในตารางให้ถูกต้อง 2. ต่อวงจรควบคุมบนแผงฝึก 2.1 วงจรไฟหรี่ 2.2 วงจรไฟใหญ่ 3.ใช้เวลาในการปฏิบัติงาน 10 นาที 4. คะแนนเต็ม 20 คะแนน
สถานีที่ 1 งานไฟแสงสว่าง สถานีที่ 1 งานไฟแสงสว่าง แผงฝึกต่อวงจรงานไฟแสงสว่าง มัลติมิเตอร์แบบเข็ม
แผงไดอะแกรม วงจรไฟแสงสว่าง
สถานีที่ 2 งานไฟสัญญาณ (รถยนต์ NISSAN SENTRA ) คำสั่ง : ให้ผู้เข้าแข่งขัน 1. ตรวจสอบหาสาเหตุความผิดปกติของวงจร ไฟเลี้ยว – ไฟฉุกเฉิน ในรถยนต์ แล้วดำเนินการแก้ไขให้สามารถทำงานได้อย่างถูกต้อง 2.ใช้เวลาในการปฏิบัติงาน 10 นาที 3. คะแนนเต็ม 20 คะแนน
สถานีที่ 2 งานไฟสัญญาณ (รถยนต์ NISSAN ) ระบบไฟสัญญาณรถยนต์ NISSAN SENTRA
สถานีที่ 3 งานตรวจวัดอุปกรณ์ระบบจุดระเบิดแบบทรานซิสเตอร์ สถานีที่ 3 งานตรวจวัดอุปกรณ์ระบบจุดระเบิดแบบทรานซิสเตอร์ คำสั่ง : ให้ผู้เข้าแข่งขัน 1. ตรวจวัด ค่าความต้านทาน และตรวจสอบการทำงานของ ชุดจานจ่ายแบบ IIA 2. ใช้เวลาในการปฏิบัติงาน 10 นาที 3. คะแนนเต็ม 20 คะแนน
สถานีที่ 3 งานตรวจวัดอุปกรณ์ระบบจุดระเบิดแบบทรานซิสเตอร์ - ชุดอุปกรณ์ระบบจุดระเบิดแบบทรานซิสเตอร์
การตรวจวัดCOILจุดระเบิด การตรวจวัดค่า ขดลวดปฐมภูมิ ของคอยล์จุดระเบิด การตรวจวัดค่า ขดลวดทุติยภูมิ ของคอยล์จุดระเบิด
การตรวจวัดขดลวดกำเนิดสัญญาณ การตรวจวัดค่าของขดลวดกำเนิดสัญญาณ การตรวจวัดระยะห่างระหว่างโรเตอร์กับขดลวดสัญญาณ
การตรวจเช็ค การทำงานของตัวช่วยจุดระเบิด ชุดตรวจเช็ค การทำงานของตัวช่วยจุดระเบิด โดยสังเกตุการเกิดประกายไฟที่หัวเทียน
สถานีที่ 4 งานตรวจสอบ/บำรุงรักษาและวิเคราะห์สภาพแบตเตอรี่ คำสั่ง : ให้ผู้เข้าแข่งขัน 1. ทำความสะอาดขั้ว และตรวจระดับน้ำกรดแบตเตอรี่ 2. วัดค่าความถ่วงจำเพาะ 1 ช่องเซลส์ ด้วย Hydrometer แล้ววิเคราะห์ค่า ความถ่วงจำเพาะตามตาราง และสรุปบันทึกผลการตรวจวัดลงในใบรายงาน 3. วัดค่าปริมาณไฟของแบตเตอรี่ ด้วย Battery Tester แล้วอ่านค่า และวิเคราะห์ สรุปบันทึกผลการตรวจวัดลงในใบรายงาน 4. ใช้เวลาในการปฏิบัติงาน 10 นาที 5. คะแนนเต็ม 20 คะแนน
สถานีที่ 4 งานตรวจสอบ/บำรุงรักษาและวิเคราะห์สภาพแบตเตอรี่ - Battery 12 V. - Hydrometer - Battery Tester - เครื่องมือทำความสะอาดขั้ว Battery
เครื่องมือ HYDROMETER
เครื่องมือ BATTERY TESTER BATTERY TESTER ตรวจสภาพของ BATTERY
อุปกรณ์บำรุงรักษาแบตเตอรี่ เครื่องมือทำความสะอาดขั้ว BATTERY
..ขอให้ทุกท่านโชคดี.. อาจารย์เอกรัฐ นาที 081-0025442 ..ขอให้ทุกท่านโชคดี.. อาจารย์เอกรัฐ นาที 081-0025442