ศาสนพิธี ในวิถีสังคมไทย สังคมไทยส่วนใหญ่เป็นสังคมของชาวพุทธ ดังนั้น วิถีชีวิตในสังคมไทยจึงดำเนินไปตามแนวทางของพระพุทธศาสนา
องค์ประกอบของพระพุทธศาสนา ๑. ศาสดา มีผู้ก่อตั้ง คือองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ๒. ศาสนธรรม มีหลักธรรมคำสอน คือพระไตรปิฎก ๓. ศาสนิก มีผู้ยอมรับนับถือตาม หรือสาวก ๔. ศาสนสถาน-ศาสนวัตถุ มีสถานที่และรูปเคารพทางศาสนา ๕. ศาสนพิธี มีพิธีหรือแบบแผนที่ปฏิบัติทางศาสนา
ความสำคัญของศาสนพิธีต่อสังคมไทย - เกี่ยวข้องกับบุคคลทุกระดับชั้น ตั้งแต่พระมหากษัตริย์ ถึง สามัญชน - เป็นเครื่องนำไปสู่การปฏิบัติตนตามหลักศีลธรรม - ทำให้มีการชุมนุมของญาติมิตร - สร้างความสามัคคีในชุมชน - ทำให้เกิดการช่วยเหลือเกื้อกูลกัน
ศาสนพิธีเกี่ยวข้องกับวิถีชีวิตของสังคมไทย เยาว์วัย - โกนผมไฟ - ตัดจุก - แสดงตนเป็นพุทธมามกะ - บรรพชาเป็นสามเณร
เติบใหญ่วัยหนุ่มสาว - บรรพชา-อุปสมบท - แต่งงาน - ทำบุญคล้ายวันเกิด - ทำบุญขึ้นบ้านใหม่ - ทำบุญประจำปี
ย่างเข้าวัยชรา - ทำบุญครบ ๕ รอบ -ทำบุญครบ ๖ รอบ -ทำบุญครบ ๗ รอบ -อื่นๆ
มุ่งหน้าสู่สวรรค์ - สวดพระอภิธรรม - ทำบุญครบ ๗ วัน ๕๐ วัน ๑๐๐ วัน - ออกเมรุ-ฌาปนกิจศพ - เก็บอัฐิ - ฉลองอัฐิ - บรรจุอัฐิ - ลอยอังคาร
ทำบุญทั่วไป - ทำบุญตักบาตร - รักษาศีล-ฟังเทศน์-ปฎิบัติธรรม - ถวายสังฆทาน – ถวายผ้าอาบน้ำฝน... - ทอดกฐิน ผ้าป่า
พิธีอื่นๆ - วางศิลาฤกษ์อาคารสถานที่ - เปิดป้ายอาคารสถานที่ - ทำบุญคล้ายวันสถาปนาหน่วยงาน - เปิดประชุมสัมมนา
สวัสดี