ศูนย์เฝ้าระวังการเจ็บป่วยจากความร้อน รพ.พระมงกุฎเกล้า
แนวทางการปฏิบัติของศูนย์ 1. จัดทำ แนวทางปฏิบัติ คำแนะนำ ข้อเสนอที่ทันสมัย เสนอผู้บังคับบัญชา 2. จัดตั้ง ศูนย์ปฏิบัติการเฝ้าระวังการเจ็บป่วยจากความร้อน รพ.พระมงกุฎเกล้า ณ ห้องประชุม กตร.รพ.รร.6 ชั้น 3 อาคาร เฉลิมพระบารมี 3. จัดทำ webpage ศูนย์ปฏิบัติการเฝ้าระวังการเจ็บป่วยจากความร้อน รพ.พระมงกุฎเกล้า 4. จัดตั้งระบบเฝ้าระวังการเจ็บป่วยจากความร้อน รพ.พระมงกุฎเกล้า 5. ประชาสัมพันธ์ผลการดำเนินการให้สาธารณชนทราบ
องค์ประกอบของเว็บไซต์ รายงานสถานการณ์ประจำวัน ดาวน์โหลดแบบรายงานสถานการณ์ประจำวัน ขั้นตอนการส่งข้อมูลความเจ็บป่วยจากความร้อน จากการฝึกทหารใหม่ แผนผังหน่วยฝึกที่รับผิดชอบ แนวทางการปฏิบัติศูนย์เฝ้าระวัง สิ่งอุปกรณ์ปฐมพยาบาลโรคลมร้อน การจัดธงสัญญาณ ภาพกิจกรรมของศูนย์เฝ้าระวัง
1. รายงานสถานการณ์ประจำวัน
2. ดาวน์โหลดแบบรายงานสถานการณ์ประจำวัน
3. ขั้นตอนการส่งข้อมูลความเจ็บป่วยจากความร้อนจากการฝึกทหารใหม่ 1. เปิดเว็บไซต์ รพ.พระมงกุฎเกล้า http://www.pmk.ac.th/ 2. คลิกที่แบนเนอร์ ศูนย์เฝ้าระวังการเจ็บป่วยจากความร้อน รพ.พระมงกุฎเกล้า ที่ด้านล่างของเว็บไซต์ 3. คลิกที่เมนู ดาวน์โหลดแบบฟอร์ม เพื่อบันทึกแบบรายงานสถานการณ์ โรคลมร้อน ไว้ในเครื่องของหน่วย 4. ลงรายละเอียดข้อมูลของหน่วยตามแบบฟอร์มรายงานสถานการณ์โรคลมร้อนที่ดาวน์โหลดจากเว็บไซต์ และบันทึกข้อมูลให้เรียบร้อย 5. ส่ง e-mail ไฟล์ “รายงานสถานการณ์โรคลมร้อน” มาที่ fppmk@yahoo.com 6. สามารถดูรายงานประจำวันได้ที่หน้าเว็บไซต์ ศูนย์เฝ้าระวังการเจ็บป่วยจาก ความร้อน รพ.พระมงกุฎเกล้า
4. แผนผังหน่วยฝึกที่รับผิดชอบ
5. แนวทางการปฏิบัติของศูนย์ 1. จัดทำ แนวทางปฏิบัติ คำแนะนำ ข้อเสนอที่ทันสมัย เสนอผู้บังคับบัญชา 2. จัดตั้ง ศูนย์ปฏิบัติการเฝ้าระวังการเจ็บป่วยจากความร้อน รพ.พระมงกุฎเกล้า ณ ห้องประชุม กตร.รพ.รร.6 ชั้น 3 อาคาร เฉลิมพระบารมี 3. จัดทำ webpage ศูนย์ปฏิบัติการเฝ้าระวังการเจ็บป่วยจากความร้อน รพ.พระมงกุฎเกล้า 4. จัดตั้งระบบเฝ้าระวังการเจ็บป่วยจากความร้อน รพ.พระมงกุฎเกล้า 5. ประชาสัมพันธ์ผลการดำเนินการให้สาธารณชนทราบ
6. สิ่งอุปกรณ์ปฐมพยาบาลโรคลมร้อน 1. มีน้ำดื่มเตรียมไว้อย่างเพียงพอ แยกไว้ในแต่ละหมวดฝึก หรือแต่ละสถานีฝึก 2. ภาชนะบรรจุน้ำสะอาด มีก๊อกรินน้ำ หรือเหยือกตักน้ำ 3. มีแก้วสำหรับดื่มน้ำเป็นส่วนบุคคล ไม่ใช้ร่วมกัน และมีผ้าคลุมกันฝุ่น 4. ทหารทุกนายมีผ้าขนหนูขนาดเล็กพกประจำกาย สำหรับเช็ดตัวระหว่างพัก 5. มีถังบรรจุน้ำสำหรับเช็ดตัว มีฝาปิด ตั้งในที่ร่ม พร้อมถังหูหิ้วขนาดเล็กสำหรับเช็ดตัวประจำแต่ละหมวดฝึก หรือสถานีฝึก 6. มีเปลสนามกางพร้อมใช้ อยู่ในบริเวณที่ทำการฝึก 8. มีกระบอกฉีดน้ำฝอยละออง บรรจุน้ำเต็ม อย่างน้อย ๓ อัน วางไว้ใกล้เตียงปฐมพยาบาล หยิบใช้สะดวก ทันที 9. มีพัดลม หรือ อุปกรณ์ที่ทำให้เกิดลมพัด หรือ ไดร์เป่าผมสำหรับเป่าขณะเช็ดตัวลดความร้อน 10. มีปรอทวัดอุณหภูมิร่างกาย , เครื่องวัดความดันโลหิต วางไว้พร้อมใช้งาน 11. มีชุดอุปกรณ์ให้ออกซิเจน , อุปกรณ์ให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ 12. มีรถพร้อมสำหรับการส่งผู้ป่วยไป รพ. จอดไว้บริเวณที่ทำการฝึก
7. การจัดธงสัญญาณ วิธีใช้ เครื่องวัดความชื้นสัมพัทธ์ 1. ใส่น้ำที่ใสสะอาดให้เต็มช่องเติมน้ำ 2. นำผ้าคลุมกระเปาะเทอร์โมมิเตอร์จุ่มน้ำจนเปียกทั่ว 3. แขวนไว้ที่สถานที่ที่ต้องการ 4. อ่านอุณหภูมิเทอร์โมมิเตอร์แห้งลบด้วยอุณหภูมิเทอร์โมมิเตอร์เปียก 5. นำผลข้อ 4 มาเทียบกับอุณหภูมิเทอร์โมมิเตอร์เปียก ในตารางความชื้นสัมพัทธ์ (กรณีผ้าเก่าหลุด ใช้ผ้าฝ่ายที่นุ่มคลุมไม่หลวมหรือแน่นเกินไป)
8. ภาพกิจกรรมของศูนย์เฝ้าระวัง
Thank you for your attention