การเก็บข้อมูลสู่ฐานข้อมูลและ การนำไปใช้กรณีตัวอย่างข้อมูลจากปะเหลียน 4.5 การจัดทำข้อมูลลุ่มน้ำย่อยนำร่อง (สสป.) การเก็บข้อมูลสู่ฐานข้อมูลและ การนำไปใช้กรณีตัวอย่างข้อมูลจากปะเหลียน ลุ่มน้ำย่อยนำร่อง 30 ลุ่มน้ำ
แผนดำเนินงานการจัดเก็บข้อมูลพื้นฐานทรัพยากรน้ำ ธันวาคม 2548 - มิถุนายน 2549 จัดประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อกำหนดกรอบ และแนวทางการจัดทำข้อมูล (1 ครั้ง) จัดประชุมเพื่อจัดทำรายละเอียดข้อมูลที่จัดเก็บ จัดทำแบบฟอร์ม คำอธิบายแบบฟอร์ม (ประชุม 5 ครั้ง) ปีงบประมาณ 2549 กรมทรัพยากรน้ำ ได้จัดทำ คำรับรองการปฏิบัติราชการด้านการพัฒนา การจัดการความรู้ในองค์กร (KM) คัดเลือกเป้าหมาย KM เรื่องการสร้างทีมวิทยากรกับ การจัดเก็บข้อมูลพื้นฐานลุ่มน้ำ อย่างน้อย 30 คน หน่วยวัดผลเป็นรูปธรรม ทีมวิทยากรนำความรู้ไปถ่ายทอด ในคณะทำงานลุ่มน้ำย่อย / สาขา (นำร่อง) อย่างน้อย 20 คณะทำงาน ตุลาคม 2548 กรมทรัพยากรน้ำ กำหนดนโยบาย ในการบริหารจัดการ ลุ่มน้ำย่อยนำร่อง 29 ลุ่มน้ำ และกำหนดให้มีการจัดเก็บข้อมูลพื้นฐาน แผนการจัดการความรู้ การเตรียมและการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม การสื่อสาร กระบวนการและเครื่องมือ การเรียนรู้ การวัดผล การยกย่อง ชมเชย และการให้ข้อมูล เอกสารประกอบการประชุมผู้บริหาร ครั้งที่6/2549 โดยสำนักส่งเสริมและประสานมวลชน
แผนดำเนินงานการจัดเก็บข้อมูลพื้นฐานทรัพยากรน้ำ ตุลาคม - พฤศจิกายน 2549 มิถุนายน 2549 กรกฎาคม - กันยายน 2549 การนำฐาน ข้อมูลในระบบ Excell เพื่อเชื่อมโยงเข้า สู่ระบบ GIS โดย จะจัดอบรม กระบวนการและเครื่องมือ การเรียนรู้ ขยายผลโดยการจัดประชุมเชิงปฏิบัติการฯ (ตัวอย่างโครงการ) กลุ่มเป้าหมายคณะทำงานระดับตำบลในพื้นที่ลุ่มน้ำนำร่อง จัดทำแบบฟอร์ม และคำอธิบายแบบ ฟอร์ม อบรมวิทยากร รายงานครั้งที่ 2 มอบหมายภารกิจให้คณะทำงาน ที่เป็นภาคประชาชน ตัวแทนของหมู่บ้านเป็นผู้จัดเก็บและสำนักงานทรัพยากรน้ำภาคเป็นพี่เลี้ยงและตรวจสอบ เมื่อนำข้อมูลเข้า Excell เรียบร้อยแล้วรายงานพร้อมส่งไฟล์ให้ สสป. รายงานครั้งที่ 1 หัวข้อวิชา ระยะเวลาสถานที่ กลุ่มเป้าหมาย งบประมาณ สรุปประเมินความรู้ ความเข้าใจ (ประเมินโครงการ) วิทยากร นำข้อมูลระบบ Excell ขึ้น Web Site ของกรมฯ และส่งไฟล์ให้กับ สสป.
ฟอร์มการเก็บข้อมูลและการกรอกข้อมูล
การเชื่อมโยงข้อมูลจากฟอร์มไปสู่ตารางข้อมูล Excel Excel
การเชื่อมโยงข้อมูลจากตารางข้อมูลไปสู่ฐานข้อมูล Excel Access
การสร้างความสัมพันธ์ของข้อมูลในฐานข้อมูล Access Table 2 Access Table 1 Access Core Table Access Table 3 Access Table 4
การส่งข้อมูลจากตารางข้อมูลไปสู่ระบบ GIS Excel : XLS Data Base File : DBF
การนำข้อมูลพิกัดที่ตั้งที่เก็บได้จากสนามมาสร้างแผนที่ในระบบ GIS Data Base File : DBF GIS
การเชื่อมโยงข้อมูลระหว่าง GIS กับ ฐานข้อมูล
การสร้างฐานข้อมูลเพื่อการตัดสินใจของผู้บริหาร ทางเลือกในการตัดสินใจ ข้อมูลตาราง การวิเคราะห์/เปรียบเทียบ - เชิงพื้นที่ - เชิงเวลา - เชิงปริมาณ - เชิงคุณภาพ(จัดกลุ่ม) ข้อมูลแผนที่ ข้อมูลสรุป รูปภาพ ข้อความ
รวบรวมข้อมูล ภาพถ่ายดาวเทียม และภาพถ่ายระยะไกล แผนที่ที่หน่วยงานต่างๆ จัดทำขึ้น รวบรวมข้อมูล ฐานข้อมูลที่ใช้ในการปฏิบัติงาน การจัดการน้ำชลประทาน ภาพถ่ายดาวเทียม และภาพถ่ายระยะไกล ฐานข้อมูลอื่นๆ
ขั้นตอนการทำงาน GIS 1 2 3 4 5 6 การรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ประเภทของข้อมูล วิเคราะห์การเชื่อมโยงข้อมูลกับระบบสารสนเทศ จัดหมวดหมู่ 3 สร้างหลักเกณฑ์ การพิจารณาตัวคูณ คะแนน แต่ละชั้นข้อมูล กำหนดสัดส่วนตัวชี้วัดในแต่ละประเด็น 4 การออกแบบ โครงสร้างฐานข้อมูล ฐานข้อมูล ภายนอก ฐานข้อมูลเชิงพื้นที่ ฐานข้อมูลลักษณะสัมพันธ์ การกำหนดรหัสข้อมูล การสร้างฐานข้อมูล 5 การวิเคราะห์โดยใช้การพิจารณาร่วมหลายชั้นข้อมูล ภายใต้เมตริกของเกณฑ์การวัด คะแนน ตัวคูณ และดัชนีที่กำหนดไว้ 6 การแสดงผลและการพิมพ์แผนที่
การแสดงในรูปเชิงซ้อน (Multiple Layers) การเชื่อมโยงข้อมูลจากฐานข้อมูลและ GIS กับการนำไปประยุกต์ใช้ การแสดงในรูปเชิงซ้อน (Multiple Layers)
เป้าหมายการประยุกต์ใช้ GIS - ความต้องการน้ำในพื้นที่ - ความสามารถในการให้น้ำของพื้นที่ - สมดุลน้ำในพื้นที่ - พื้นที่ศักยภาพในการพัฒนาแหล่งน้ำ - พื้นที่ศักยภาพในการจัดการต้นน้ำ - พื้นที่ศักยภาพในการฟื้นฟูแหล่งน้ำ - พื้นที่ศักยภาพในการหาพื้นที่เสี่ยงภัย - แผนรวมในการพัฒนาพื้นที่
การนำข้อมูลไปใช้วิเคราะห์หา สมดุลน้ำ Demand Supply
การนำข้อมูลไปใช้วิเคราะห์หา ความต้องการใช้น้ำ ป่าชายเลน
การนำข้อมูลไปใช้วิเคราะห์หา ความต้องการใช้น้ำ DEMAND DEMAND