ภูมิปัญญาท้องถิ่นในการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ให้ไว้ ณ วันที่ 10 กรกฎาคม 2556
Advertisements

การประชุมแผนแม่บทพัฒนาลุ่มน้ำในเขตอำเภอแม่จัน 31 มีนาคม 2553 ณ ลานทองอุทยานวัฒนธรรมลุ่มน้ำโขง แผนพัฒนาลุ่มน้ำในเขตอำเภอแม่จัน.
“แนวทางในการปล่อยพันธุ์สัตว์น้ำ”
วัฒนธรรมและภูมิปัญญา มยุรฉัตร ผิวอ่อนดี ร.ร. ดงเจนวิทยาคม จ.พะเยา
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
การจัดทำโครงการเฉลิมพระเกียรติ
โครงการริเริ่มสร้างสรรค์เพื่อขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชุมชน ปี ๒๕๕๗
โดย โครงการช่วยกันสานเพื่อส่งเสริมคุณค่าผู้สูงอายุ
วิสัยทัศน์จังหวัดพะเยา “เมืองเกษตรปลอดภัย การท่องเที่ยวที่ยั่งยืน”
สิ่งแวดล้อม เทคโนโลยีและชีวิต
โครงงานสำรวจความหลากหลายทางชีวภาพบริเวณป่าชายเลนบ้านอำเภอ
คลื่นพายุซัดชายฝั่ง กลุ่มที่6.
รายงาน เรื่อง ดินถล่ม เสนอ อาจารย์วรรณา ไชยศรี.
Green Village บ้านคลองกั่ว หมู่ 7 ต.เขาพระ อ.รัตภูมิ จ. สงขลา.
เทคโนโลยีระบบบำบัดน้ำเสียด้วยพืชกรองน้ำเสีย
โครงการ “การวางแผนจัดการแบบมีส่วนร่วมเพื่อความมั่นคงด้านน้ำในพื้นที่ จังหวัดสมุทรสงครามโดยใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์บนเว็บ” สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.
การออกแบบงานชลประทานเบื้องต้น (สำหรับบุคลากรในสายสนับสนุนกรมชลประทาน)
วิกฤตการณ์ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของโลก
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
องค์กรภาครัฐในส่วนกลางในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
วิกฤตการณ์เกี่ยวกับการตัดไม้ทำลายป่า และการสูญเสียพื้นที่ป่าไม้
วิกฤตการณ์ทรัพยากรป่าไม้ในประเทศไทย
การใช้ทรัพยากรเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
นำเสนอโดย น.ส. วิไล เดชตุ้ม
แหล่งท่องเที่ยวจังหวัดสุพรรณบุรี โดย เด็กหญิง ณภาภัช โรจนกุล
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่ภูมิพลอดุลยเดช
ประมวลภาพ โครงการติดตามประเมินผล การปฏิบัติงานของผู้ตรวจสอบภายในจังหวัด ระยะที่ 2 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ กลุ่มที่ 5 จังหวัดตรัง.
การอนุรักษ์ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมในการผลิตพืช
โรงพยาบาลสายใยรักแห่งครอบครัว
ภาพรวมการจัดสรรงบประมาณในแต่ละโครงการของศูนย์ สช. ภาคกลาง ปี 2555
ของฝากจากอาจารย์อ้อชุดที่28
ของฝากจากอาจารย์ อ้อ ชุดที่ 36 อาจารย์อ้อ ภูมิใจเสนอ
ของฝากจากอาจารย์อ้อ ชุดที่ 30
รายงานผลการดำเนินงานประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๔
“ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุ”
สิ่งแวดล้อม เทคโนโลยีและชีวิต
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
แนวปฏิบัติในการขอทำประโยชน์ในเขตป่า
โครงการพัฒนาและรณรงค์การใช้หญ้าแฝกอันเนื่องมาจากพระราชดำริ
ตัวอย่าง ตารางกรอบแผนการบริหารจัดการและพัฒนาลุ่มน้ำ แบบบูรณาการ
การประชุมผู้บริหารกรมทรัพยากรน้ำ ครั้งที่ 9/2549 ระเบียบวาระที่ 4.4 การจัดทำคำของบประมาณจาก กองทุนสิ่งแวดล้อมเพื่อการฟื้นฟู อนุรักษ์แหล่งน้ำ ธรรมชาติ การจัดทำข้อเสนอโครงการเพื่อ.
การสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง “ โครงการพัฒนาศักยภาพและเพิ่มประสิทธิภาพบุคลากร สนับสนุนการติดตามประเมินผลการดำเนินงานของกรมทรัพยากรน้ำ ”
ศูนย์วิจัยและพัฒนาประมงชายฝั่งนราธิวาส
โครงการแก้ปัญหาภัยพิบัติโดยชุมชน บ้านห้วยลากปืนใน ต. ห้วยไร่ อ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
ชูศักดิ์ วิทยาภัค คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ความหลากหลายทางชีวภาพ
การสร้างจิตสำนึกในการอนุรักษ์ทรัพยากร
- กรมส่งเสริมการเกษตร -
ดอนหอยหลอด (Don Hoi Lot).
ระบบนิเวศสิ่งแวดล้อม
วิจัยเพื่อชุมชน : การประเมินและถ่ายทอดเทคโนโลยีเกษตรยั่งยืน
โครงการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้แบบมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน
ปัญหาสิ่งแวดล้อม.
ดินถล่ม.
การจัดการองค์ความรู้ ระบบการผลิตที่ยั่งยืน ความพอเพียงในการดำรงชีพ
การศึกษาวิจัย เรื่อง ผู้วิจัย นายอภิวิชญ์ ปีนัง
สำรวจสภาพปัญหาและเสนอแนวทางการแก้ปัญหาทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม
1.3 โครงการชุมชนเข้มแข็ง เตรียมพร้อมป้องกันภัย (นำร่อง) 1 หมู่บ้าน
Natural Resources Benjavun Ratanasthien Department of Geological Sciences, Faculty of Sciences, Chiang Mai University.
ศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงชุมชนตามแนวพระราชดำริ (โรงเรียนแก้จนคนท้องถิ่น อำเภอแม่วาง จังหวัดเชียงใหม่)
การบรรยายสรุป การสำรวจพื้นที่เพื่อจัดทำ และสนับสนุนโครงการนำ ร่อง : บ้านผาปูน อำเภออมก๋อย จังหวัดเชียงใหม่ กนก ฤกษ์เกษม และนริศ ยิ้มแย้ม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
จัดทำโดย ปฏิภาณ ไชยกุล อดิศร สุดดวง
บทที่ 3 ผลกระทบของอุตสาหกรรมท่องเที่ยว
หน่วยการเรียนที่ 2 สิ่งแวดล้อม และทรัพยากรทางธรรมชาติ
วิสัยทัศน์การพัฒนาตำบล
คำอธิบายรายวิชา ศึกษาการวิเคราะห์ข้อมูลทางภูมิศาสตร์กายภาพทั้ง 6 ภาคของไทย และสภาวะแวดล้อมต่างๆ ศึกษาภัยธรรมชาติต่างๆ ซึ่งทำให้เกิดลักษณะเฉพาะหรือปรากฏการณ์ในพื้นที่
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ภูมิปัญญาท้องถิ่นในการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม โดยการอนุรักษ์และฟื้นฟูป่าไม้ และต้นน้ำลำธาร ของชุมชนสะเอียบ ตำบลสะเอียบ อำเภอสอง จังหวัดแพร่

พื้นที่ดำเนินการโครงการการอนุรักษ์และฟื้นฟูป่าไม้ และต้นน้ำ ลำธารของชุมชนตำบลสะเอียบ อำเภอสอง จังหวัดแพร่

ความเป็นมา/สภาพปัญหา วิกฤติการณ์น้ำท่วมและดินถล่ม ในอดีตที่ผ่านมามีตัวชี้วัดที่สำคัญที่แสดงให้เห็นปัจจัยสำคัญที่ทำให้เกิดวิกฤติการณ์ดังกล่าว อันได้แก่ พื้นที่ป่าไม้ถูกทำลาย สาเหตุสำคัญเนื่องมาจากการบุกรุกพื้นที่ป่าไม้ เพื่อทำการเกษตรทำให้สภาพป่าไม้ลดลงก่อให้เกิดผลกระทบสภาวะธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เสียสมดุลของนิเวศวิทยา หน้าดินไม่สามารถซึมซับน้ำไว้ได้ ทำให้น้ำไหลบ่าอย่างรวดเร็ว หน้าดินถูกซะล้างทำให้ดินพังทลาย จนมีสภาพเป็นดินดานและเกิดตะกอนสะสมในแม่น้ำ จนลำธารตื้นเขิน นอกจากนี้ ชาวบ้านเริ่มสังเกตว่าการจับปลาได้น้อย เมื่อเทียบกับในอดีต หลังจากตั้งกลุ่มราษฎรรักษ์ป่าขึ้นมาเราได้อนุรักษ์แหล่งขยายพันธ์ปลาในแม่น้ำยมหนึ่งแห่งในพื้นที่ชุมชน ทำให้เริ่มจับปลาได้มากบ้างแล้ว

วัตถุประสงค์ เพื่อรักษาระบบนิเวศน์และความหลากหลายทางชีวภาพ ของพื้นป่าต้นน้ำยม เพื่อรักษาประเพณีวัฒนธรรมของชุมชน (โดยนำความเชื่อว่าป่าและน้ำเป็นที่สิงสถิตของสิ่งศักดิ์สิทธิ์ทำให้เกิดภัยพิบัติถ้าหากมนุษย์ทำลายธรรมชาติ เช่น น้ำท่วม ดินถล่ม เป็นต้น)

พื้นที่ดำเนินการ/สมาชิกกลุ่ม จากการประชุมคณะกรรมการหมู่บ้านเมื่อปี 2532 หลังจากที่พายุเกย์พัดถล่มที่จังหวัดชุมพรและรัฐบาลได้ประกาศยกเลิกป่าสัมปทานทั่วประเทศ เราจึงได้เล็งเห็นความสำคัญของป่าไม้ที่เป็นแหล่งกำเนิดของต้นน้ำ ที่ริเริ่มจาก 4 หมู่บ้านคือหมู่ 1 บ้านดอนชัย หมู่ 5 บ้านแม่เต้น หมู่ 6 บ้านดอนแก้ว และหมู่ 9 บ้านดอนชัยสักทอง ต.สะเอียบ อ.สอง จ.แพร่ จึงได้จัดตั้งกลุ่มราษฎรรักษ์ป่า ซึ่งมีจำนวนคณะกรรมการทั้งหมด 106 คน โดยคัดเลือกจากชุมชน และแบ่งเขตพื้นที่รับผิดชอบ ใช้กฎระเบียบของชุมชน และจัดตั้งกองทุนราษฎรรักษาป่า โดยมีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเข้ามามีส่วนร่วม

หลัก/วิธีดำเนินการ การนำความเชื่อว่าบริเวณป่าต้นน้ำยมเป็นที่สิงสถิตของสิ่งศักดิ์สิทธิ์ หรือมีเจ้าที่ จึงทำให้มีความคิดที่จะทำอะไรเพื่อให้เกิดสิริมงคลกับป่าและแม่น้ำลำธาร จึงได้นำประเพณี วัฒนธรรม ที่เป็นความเชื่อของชาวบ้านมาเป็นจุดศูนย์รวม ของชุมชน เพื่อรวมพลังในการอนุรักษ์และพื้นฟูป่าต้นน้ำและเพื่อการอนุรักษ์สัตว์น้ำ โดยดำเนินการ การปลูกป่า/บวชป่า การสืบชะตาแม่น้ำ การเลี้ยงผีฝาย การสร้างฝายต้นน้ำเพื่อการอนุรักษ์และ พื้นฟูป่าต้นน้ำ / การอนุรักษ์พันธุ์ปลา

การปลูกป่าเฉลิมพระเกียรติเนื่องในวันสำคัญของทุกปีเพื่อฟื้นฟูสภาพป่า ผลการดำเนินการของกลุ่มราษฎรรักษ์ป่า การปลูกป่าเฉลิมพระเกียรติเนื่องในวันสำคัญของทุกปีเพื่อฟื้นฟูสภาพป่า

การบวชป่า เพื่อให้เกิดความเกรงกลัวต่อบาปและปลูกจิตสำนึกในการรักต้นไม้ให้กับเยาวชนรุ่นหลัง

การสร้างฝายต้นน้ำ

การสืบชะตาแม่น้ำยมเพื่อปลูกจิตสำนึก รู้จักคุณค่า ของแม่น้ำที่ให้กำเนิดกับวิถีชีวิตคน

ผลจากการดำเนินการของกลุ่มราษฎรรักษ์ป่า ทำให้คนไม่กล้าจะทำลายป่า/แม่น้ำลำธาร จึงทำให้เกิดแนวร่วมในการอนุรักษ์ป่าต้นน้ำโดยชาวบ้านเห็นประโยชน์ของป่าไม้และแม่น้ำที่มีคุณค่ามหาศาล เพราะทุกคนต้องอาศัยป่าและน้ำ จึงไม่กล้าทำสิ่งไม่ดีกับป่าและแม่น้ำ ***************************************