บทที่ 1 ความหมายและแนวทางของนโยบายสาธารณะ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
Advertisements

ชี้แจงการสัมมนากลุ่มย่อย
การพัฒนาเศรษฐกิจ ความหมาย
หลักเกณฑ์การวิเคราะห์ความเสี่ยง ตามหลักธรรมาภิบาล
ข้อควรคำนึงในการสร้างเครือข่าย
กองทุนพัฒนาไฟฟ้ากับ การพัฒนาชุมชนในพื้นที่รอบโรงไฟฟ้า
นโยบายการคลัง Fiscal Policy
5.
ขอบข่ายของการศึกษา รัฐประศาสนศาสตร์
เรื่องสืบเนื่อง การวางแผนและบริหารโครงการสำหรับส่วน ราชการ
หลักการพัฒนา หลักสูตร
ความหมาย ปรัชญาและวัตถุประสงค์ ของงานส่งเสริมการประมง
การกำหนดปัญหา ในการวิจัย
การจัดการบริการสารสนเทศ
( Organization Behaviors )
การวิเคราะห์ความต้องการด้านระบบ
Research Mapping.
33711 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 5
33711 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 6
33711 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 4
33701 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 1
ขั้นตอนที่ 4 การวิเคราะห์ความเสี่ยง สภาพแวดล้อมภายในและภายนอก
การวิจัยสถาบัน ดร.จักษ์ พันธ์ชูเพชร
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวิจัย
วิธีการทางวิทยาการระบาด
1. Popular Sovereignty 2. Individuals Rights, Liberty, and Equality 3. Consent 4. Representation.
1. การพัฒนาประชาธิปไตย : สถาบัน
1. Legal Status 2. Area and Level องค์ประกอบการปกครองท้องถิ่น
1. Legal Status 2. Area and Level องค์ประกอบการปกครองท้องถิ่น
ความเปลี่ยนแปลงที่มีผลกระทบต่อการศึกษาและวิชาชีพครู ในปัจจุบันและอนาคต
บทบาทการบริหารงานสำนักงาน 1
KM เรื่อง “การบริหารความเสี่ยง” ส่วนบริหารการจัดเก็บภาษี
( Organization Behaviors )
BUSINESS TAXATION ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสำนักงาน และการบริหารงานสำนักงาน
ขอบเขตความรับผิดชอบของรัฐบาลท้องถิ่น
การประกันคุณภาพการศึกษา ภายในมหาวิทยาลัย/คณะ
นายสุวรรณ ชนะสงคราม ที่ปรึกษาด้านกฎหมายของสำนักงาน ก.พ.
การสำรวจหา ค่ากลาง นโยบายรัฐบาล เรื่องการพัฒนาสุขภาพของ ประชาชน ประกาศเมื่อ 23 สิงหาคม จัดให้มีมาตรการสร้างสุขภาพโดยมี เป้าหมายเพื่อลดอัตราป่วย.
การกระจายอำนาจสู่ อปท.
ดร.ชาญชัย จิตรเหล่าอาพร
การวัดประเมินผลแบบดั้งเดิม
การเผยแพร่องค์ความรู้เรื่อง “รู้ทันนวัตกรรมคอร์รัปชัน”””
มาตรฐานการควบคุมภายใน
นโยบายสาธารณะกับการปฏิรูปการเมือง การปกครอง และการบริหาร
บทที่ 1 บทนำ โดย อ.มานิตย์ ผิวขาว
การตรวจสอบ และการควบคุมภายใน
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
การจัดทำแผนปฏิบัติงานประจำปี
บทที่ 3 ปรัชญาและแนวความคิดของการพัฒนาชุมชน
แผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2550 – 2552) องค์การบริหารส่วนตำบลทางเกวียน
หลักสตรูแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551
ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทนปัจจัยการผลิต (ค่าเช่า, ดอกเบี้ย, ค้าจ้าง ,กำไร) ปัจจัยการผลิต (ที่ดิน, ทุน, แรงงาน, ผู้ประกอบการ)
การวิจัยการบริหาร ทรัพยากรมนุษย์ ดร. สุจิตรา ธนานันท์
รหัส หนังสือหมวดวิชาชีพพื้นฐาน หลักเศรษฐศาสตร์
บทที่ 4 หลักและวิธีการพัฒนาชุมชน
ประเภทของนโยบายสาธารณะ
บทที่ 3 ผลกระทบของอุตสาหกรรมท่องเที่ยว
บทที่ 5 การตัดสินใจเชิงจริยธรรมในธุรกิจ
ปัญหาจริยธรรมในทางธุรกิจ
บทบาทของข้อมูลการตลาด
หลักการเขียนโครงการ.
พฤติกรรมผู้บริโภค (CONSUMER BEHAVIOR)
สัมมนาทางการประกอบการธุรกิจ
7.Discussion การอภิปราย นายวัชรกร เดชะบุญ รหัสนิสิต
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
กรอบแนวคิดการพัฒนาหลักสูตรช่วงชั้นที่ 3 และ 4
1. การวิจัยคืออะไร 2. การวิจัยแบ่งเป็นกี่ประเภท อะไรบ้าง
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 1 ความหมายและแนวทางของนโยบายสาธารณะ ดร.ชาญชัย จิตรเหล่าอาพร www.ballchanchai.com

ความหมายของนโยบายสาธารณะ คำว่า “นโยบายสาธารณะ” หรือ “Public Policy” “หมายถึง การตัดสินใจของรัฐบาลในการเลือกที่จะกระทำหรือไม่กระทำกิจกรรมใดๆ เพื่อประโยชน์สุขต่อประชาชน”

ประเภทของนโยบายสาธารณะ 1 แบ่งประเภทตามลักษณะเนื้อหา และวัตถุประสงค์ของนโยบาย มีนักวิชาการที่แบ่งตามนี้ เช่น Theodore Lowi ได้แบ่งไว้ 3 ประเภท คือ นโยบายเกี่ยวกับการจัดระเบียบกฎเกณฑ์ นโยบายเกี่ยวกับการ กระจายทรัพยากร นโยบายเกี่ยวกับการจัดสรรทรัพยากรใหม่ 2 แบ่งประเภทตามลักษณะขอบข่ายผลกระทบของนโยบาย นักวิชาการที่แบ่งตามลักษณะนี้ เช่น David Easton (1953) โดยแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ นโยบายเฉพาะกลุ่ม และนโยบายส่วนรวม

ประเภทของนโยบายสาธารณะ 3 แบ่งประเภทตามลักษณะกระบวนการของนโยบายสาธารณะ นักวิชาการที่แบ่งตามลักษณะนี้ เช่น Ira Sharkansky (1970) แบ่งไว้ 3 ประเภท ขั้นนโยบายสาธารณะ ขั้นผลผลิตของนโยบายสาธารณะ และขั้นผลกระทบของนโยบาย 4 แบ่งประเภทตามลักษณะกิจกรรม หรือภารกิจสำคัญของรัฐบาล นักวิชาการที่แบ่งตามลักษณะนี้ เช่น Thomas Dye (1978) แบ่งตามภารกิจของสหรัฐอเมริกา ไว้ 12 ประเภท มีนโยบายป้องกันประเทศ นโยบายต่างประเทศ นโยบายการศึกษา นโยบายสวัสดิการ นโยบายการรักษาความสงบภายใน นโยบายทางหลวง นโยบายภาษีอากร นโยบายการเคหะ นโยบายประกันสังคม นโยบายสาธารณะสุข นโยบายพัฒนาชุมชน/ตัวเมือง และนโยบายทางเศรษฐกิจ

ศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับนโยบายสาธารณะ คณิตศาสตร์ มานุษยวิทยา เศรษฐศาสตร์ รัฐศาสตร์ ประวัติศาสตร์ จิตวิทยา อื่นๆ

แนวทางสำหรับการวิเคราะห์นโยบายสาธารณะ

ขั้นตอนของการวิเคราะห์นโยบาย

ประโยชน์ของการวิเคราะห์นโยบาย ประการแรก ช่วยให้ทราบถึงความต้องการที่แท้จริงของประชาชนและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียจากนโยบายทุกฝ่าย ซึ่งจะเป็นประโยชน์ต่อการแสวงหาแนวทางแก้ไขปัญหาที่มีความเป็นไปได้สูงขึ้นและสามารถสนองตอบต่อความต้องการที่แท้จริง ประการต่อมา ทำให้ทราบถึงมูลเหตุที่แท้จริงของปัญหา (Causes) อันมีผลต่อการตัดสินใจเลือกนโยบายหรืออนุมัตินโยบายของผู้นำหรือผู้มีอำนาจ

ประโยชน์ของการวิเคราะห์นโยบาย ประการที่สาม ช่วยลดความผิดพลาดในการเลือกหรือการตัดสินใจต่อนโยบาย เพราะการวิเคราะห์นโยบายจะช่วยทำให้เกิดข้อมูลข่าวสารที่เพียงพอต่อการตัดสินใจมากขึ้น ประการที่สี่ ทำให้การปรับปรุง เปลี่ยนแปลง รวมทั้งการยุตินโยบายกระทำขึ้นอย่างเป็นระบบ ลดความอคติต่อนโยบาย จนนำไปสู่การตัดสินใจที่มีประสิทธิภาพและเป็นธรรมต่อทุกฝ่ายที่มีส่วนได้ส่วนเสียต่อนโยบาย

แนวโน้มในการการวิเคราะห์นโยบายสาธารณะ ประการแรก เน้นความสำเร็จตามวัตถุประสงค์ (Objective) มากขึ้น ประการที่สอง ให้ความสำคัญต่อเรื่องค่านิยม (Value) ทางสังคมมากขึ้น ประการที่สาม พยายามประยุกต์ศาสตร์สาขาต่างๆ ในรูปของสหวิทยาการ อาทิ สังคมวิทยา พฤติกรรมศาสตร์ รัฐศาสตร์ ปรัชญา วิทยาการจัดการ สถิติศาสตร์ คณิตศาสตร์ประยุกต์ เป็นต้น ประการที่สี่ เน้นการวิเคราะห์แบบมีส่วนร่วมมากขึ้น (Participation) ซึ่งสอดคล้องกับการปกครองในระบอบประชาธิปไตย

แนวโน้มในการการวิเคราะห์นโยบายสาธารณะ ประการที่ห้า ใช้วิธีวิเคราะห์นโยบายที่ง่าย และแม่นตรง (Validity) เชื่อถือได้ (Reliability) ประการที่หก การวิเคราะห์นโยบายเชิงธุรกิจ (Cost - Benefit) มีบทบาทมากขึ้น โดยเฉพาะนโยบายที่เกี่ยวข้องกับโครงสร้างปัจจัยพื้นฐานทางเศรษฐกิจ ประการที่เจ็ด ให้ความสำคัญต่อบทบาทนักวิเคราะห์นโยบายมากขึ้น โดยเน้นให้เป็นผู้เชี่ยวชาญในการรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ การเป็นนักเจรจาต่อรอง การอำนวยความสะดวก และการเป็นนักประสานงานที่ดี