ในการพัฒนาคุณภาพบริการ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
หน่วยงานจักษุกรรม รพ.ค่ายวชิราวุธ.
Advertisements

เป้าหมาย เพื่อประสบผลสำเร็จในการลดผู้ติดเชื้อเอ็ชไอวีรายใหม่โดยการบูรณา การยุทธศาสตร์และการปฏิบัติการระหว่างองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จังหวัด และส่วนกลางที่ครอบคลุมเยาวชนอายุ
การดำเนินงานด้านอนามัยการเจริญพันธุ์
การทำงานเชิงรุกและการส่งต่อ
โครงการพัฒนาโรงพยาบาลราชบุรี บริการฉับไว ไร้ความแออัด
สมรรถนะที่จำเป็นสำหรับผู้รับผิดชอบ การจัดการรายบุคคลในโรงพยาบาล (Case Manager และ Case Management Unit)
การดำเนินงานอาชีวเวชศาสตร์: แพทย์ที่ผ่านการอบรม
รายงานการวิจัยเรื่อง
ความคิดเห็นของข้าราชการเกี่ยวกับ สวัสดิการการรักษาพยาบาล พ.ศ. 2546
การสำรวจความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สิงหาคม.
ปัญหา เอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
การดูแลผู้ติดเชื้อและผู้ป่วยเอดส์ ด้วยโปรแกรม HIVQUAL-T
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและโอกาสพัฒนาในโครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต 10 สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10 เชียงใหม่
โรงพยาบาลท่าม่วง อำเภอท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุรี
โรงพยาบาลทับสะแก อำเภอทับสะแก จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
คณะทำงานการดูแลรักษาผู้ติดเชื้อผู้ป่วยเอดส์ด้วยยาต้านไวรัส
คุณภาพมาตรฐาน บริการด้วยนำใจ สิ่งแวดล้อมสดใส ห่วงใยปวงประชา
Group Learning HIVQUAL-T Forum
โครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลรักษา ผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์
Best Practice โรงพยาบาลสมเด็จพระญาณสังวร จังหวัดเชียงราย
สถานการณ์เอดส์ เด็ก 28 ราย ผู้ติดเชื้อและผู้ป่วยเอดส์สะสม ทั้งจังหวัด
โรงพยาบาลสิรินธร สำนักการแพทย์ กรุงเทพมหานคร
การคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในหญิงติดเชื้อ : ประสบการณ์โรงพยาบาลแม่ลาว Mae Lao hospital, Chiang Rai province, Thailand สุทธินีพรหมใจษา วราลักษ์ รัตนธรรม สุภาพรตันสุวรรณ.
การบูรณาการงาน HIV CARE สู่งานพัฒนาคุณภาพ
โรงพยาบาลทับสะแก อ.ทับสะแก จ.ประจวบคีรีขันธ์ ขนาด 60 เตียง
การใช้ข้อมูลจากโปรแกรม NAP
แนวทางการสนับสนุนการจัดบริการป้องกัน เพื่อส่งเสริมสุขภาพ สำหรับกลุ่มผู้ติดเชื้อเอชไอวีและผู้ป่วยเอดส์ นายแพทย์สรกิจ ภาคีชีพ ผู้จัดการ กองทุนเพื่อบริการผู้ติดเชื้อเอชไอวี
การจัดการระบบการดูแลรักษา โดยผู้ประสานงานในโรงพยาบาลห้วยพลู
การส่งเสริมวินัยการกินยาต้านไวรัสเอดส์
บทเรียน.. การดำเนินงานพัฒนาคุณภาพบริการ ด้วยรูปแบบ HIVQAUL-T ในเขต 13
25/07/2006.
ภาพรวม/บทเรียนการดำเนินงานพัฒนาคุณภาพฯ HIVQUAL-T ของ รพ.ครู ก.
การส่งเสริมผู้ติดเชื้อ / ผู้ป่วยเอดส์รายใหม่เข้าสู่ระบบการดูแลรักษา
1. ชื่อผลงาน: ส่งเสริมการเข้าถึงบริการอย่างเป็นมิตร
การพัฒนาคุณภาพด้านการดูแลรักษาผู้ติดเชื้อและผู้ป่วยเอดส์ ( CQI Story)
การพัฒนางานคุณภาพงานเอดส์
สถานการณ์และการดำเนินงานดูแลเด็กติดเชื้อเอชไอวี
การดูแล ผู้ติดเชื้อ / ผู้ป่วยเอดส์ ตำแหน่ง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
ผลการพัฒนาการบันทึกข้อมูล HIV-QualT ในโรงพยาบาลระโนด จ. สงขลา. โดย นส
ระบบบริการดี ตรวจซีดีโฟร์ ครบตามมาตรฐาน
ผลการเฝ้าระวัง และป้องกันความล้มเหลวในการรักษาในโรงพยาบาลระโนด จ. สงขลา โดย นส.จาฤดี กองผล, นางละมัย ช่วยแดง พยาบาลประจำคลินิกยาต้านไวรัสโรงพยาบาลระโนด.
บริบาลเภสัชกรรม รวดเร็วปลอดภัย คลินิกเด็กหัวใจสีเหลือง.
โรคหลอดเลือดสมองเสื่อม
ลาวัลย์ สาโรวาท มูลนิธิพีเอสไอ สมัชชากพอ. ชาติ ประจำปี มกราคม 2555.
แนวทางการบริหารกองทุน ที่จ่ายตามเกณฑ์คุณภาพ ปีงบประมาณ 2552
นโยบายการป้องกัน การถ่ายทอดเชื้อเอชไอวีจากแม่สู่ลูก สำหรับประเทศไทย พ
คลินิกผู้สูงอายุต้นแบบ (Geriatric Clinic Model) โรงพยาบาลอุดรธานี
การดำเนินงาน ด้านเอดส์ในแม่และเด็ก
การให้การปรึกษาในการตรวจเอชไอวี แบบฟังผลในวันเดียว Counseling with Same Day HIV Testing 12 July 2011.
บทเรียนจากการเก็บข้อมูลภาคสนามเพื่อการติดตามตาม HIVDR-EWI
การตรวจเลือดเอชไอวี แบบทราบผลในวันเดียว
ตามเกณฑ์มาตรฐานโรงพยาบาลและบริการสุขภาพ
Service Profile สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล 27 สิงหาคม 2551
คู่มือการพัฒนาคุณภาพ HA SPA SAR 2011 HA Scoring Guideline 2011
การดำเนินงานวัด ความพึงพอใจ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ศูนย์อนามัยที่ 6 ปี 2551.
กรอบการพัฒนาตัวชี้วัด
สรุปการประชุมกลุ่มย่อยที่ 1
สรุปประเด็นการเยี่ยมสำรวจ โรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช
แนวทางการบันทึก และตรวจประเมินคุณภาพ การบันทึกเวชระเบียน ผู้ป่วยนอก
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ การป้องกันและปราบปรามยาเสพติด (ก่อนและหลัง การประกาศสงครามขั้นแตกหักเพื่อเอาชนะยาเสพติด) พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติ
การพัฒนางานสุขภาพจิต วัยทำงาน - สูงอายุ
การจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ และป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี
สาขาโรคมะเร็ง.
สำนักวัณโรค กรมควบคุมโรค
การเรียนรู้ ผ่าน SERVICE PROFILE
การดำเนินงาน PMTCT (การป้องกันการถ่ายทอดเชื้อเอชไอวีจากแม่สู่ลูก)
ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ในการพัฒนาคุณภาพบริการ การใช้ VCT HIVQUAL-T ในการพัฒนาคุณภาพบริการ ธิดารัตน์ พุ่มอินทร์ โรงพยาบาลกลาง 1

BMA 4 : Quality HIV Counseling and Testing วิทยาลัยแพทยศาสตร์ กรุงเทพมหานครและวชิรพยาบาล โรงพยาบาลสิรินธร โรงพยาบาลกลาง โรงพยาบาลราชพิพัฒน์ โรงพยาบาลตากสิน โรงพยาบาลลาดกระบัง โรงพยาบาลเจริญกรุง ประชารักษ์ โรงพยาบาลหนองจอก โรงพยาบาลหลวงพ่อทวีศักดิ์ ชุตินธโร อุทิศ 2

ประเมินงานบริการที่มีในคลินิกให้บริการปรึกษา - ประเมินความต้องการในการฝึกอบรมและพัฒนาศักยภาพของผู้ให้บริการปรึกษา - ประเมินสถานที่และอุปกรณ์ที่จำเป็นในคลินิกให้บริการปรึกษา - การประเมินคุณภาพบริการปรึกษาโดยใช้โปรแกรม VCT HIVQUAL-T ในโรงพยาบาล สังกัดสำนักการแพทย์ 9 แห่ง 3 3

VCT services performance FY2007 - 2008 Hosp. name Cases list (N) Sample Size (N) Negative (N) Positive (N) 2007 2008 Vajira hosp. 18,087 17,804 196 195 104 103 92 Taksin hosp. 4,176 5,052 157 176 100 96 57 80 Klang hosp. 5,480 7,341 173 183 101 72 Charoen Krung hosp. 4,957 5,002 175 174 98 74 76 Rev.Thaveesak hosp. 182 403 86 99 70 78 16 21 Ratchapipat hosp. 2,089 1,659 138 93 69 38 24 Nong chok hosp. 484 492 127 107 113 14 9 Lardkrabang hosp. 789 792 124 118 85 84 39 34 Sirindhorn hosp. 2,357 2,285 168 155 64 59 (Oct,05-Sep,06) (Oct,06-Sep,07) (Oct,05-Sep,06) (Oct,06-Sep,07) (Oct,05-Sep,06) (Oct,06-Sep,07) (Oct,05-Sep,06) (Oct,06-Sep,07)

ผู้รับบริการที่ตรวจเลือดหาการติดเชื้อเอชไอวี และได้รับบริการปรึกษาก่อนการตรวจเลือด % 98% 100% 100% 100% 100% 100% 95% 91% 89% 89% 81% 76% เกณฑ์ 75% 64% 60% 57% 47% 35% 20%

6

HOSPITAL BACKGROUND ได้รับพระราชทานพระบรมราชานุญาต ให้สร้างขึ้นเมื่อวันที่ 24 พฤษภาคม 2441 และเริ่มการก่อสร้างเมื่อวันที่ 20 มิถุนายน 2441 ปัจจุบันมีอายุครบ 110 ปี มีจำนวนเตียง 380 เตียง สังกัด สำนักการแพทย์ กรุงเทพมหานคร 7

Hospital Profile Health Staff - Physicians - 92 - Nurses - 472 - Psychologist - 1 - Pharmacologists -12 - Social workers - 7 Health staff for VCT services - Physicians - 0 - Counselors (Nurses) - 4 - Psychologist - 0 - Pharmacologists - 0 - Social workers -0

Hospital Quality Certified ได้รับการรับรองคุณภาพโรงพยาบาล โดยสถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพ วันที่25 กุมภาพันธ์ 2551

Dr. Samart Tanariyakun, Director VCT Services Quality BMA GENERAL HOSPITAL Dr. Samart Tanariyakun, Director Miss Pornkul Suksod , Counselor Nurse Miss Somphon Choeikhonchom, Counselor Nurse Mrs. Tidarat Pum-in , Counselor Nurse Mrs. Wanida Wongsong , Counselor Nurse

หน่วยปรึกษาสุขภาพและจิตวิทยา

หน่วยปรึกษาสุขภาพและจิตวิทยา เปิดให้บริการ ตุลาคม 2548 สังกัดฝ่ายการพยาบาล พยาบาลวิชาชีพ 4 อัตรา คนงาน 1 อัตรา

งานหลัก Pre test Counseling Post test counseling HIV negative HIV positive (ทั้งผู้ป่วยนอกและผู้ป่วยใน)

งานหลัก (ต่อ) 3. การปรึกษาก่อนเข้าโครงการ ARV 4. การปรึกษาก่อนเข้าโครงการ PMTCT 5. การปรึกษาต่อเนื่อง (On going Csg) 6. การปรึกษาต่อเนื่อง ARV (On going ARV Csg) 7. การปรึกษาโรคเรื้อรังต่างๆ

งานรอง การให้คำแนะนำเรื่องการใช้ถุงยางอนามัยอย่างถูกต้อง+การแจก 2. การปรึกษาสุขภาพทางโทรศัพท์ 3. การปรึกษาก่อนให้ยาเคมีบำบัด

งานรอง (ต่อ) 4. Key ข้อมูลส่ง สปสช.รายวัน (เพื่อขอค่าใช้จ่าย/เงินชดเชย) - VCT - Key ส่งการเจาะเลือด HIV - การให้คำปรึกษาผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ที่มารับยาต้านไวรัส และมารักษาต่อเนื่องด้วยสิทธิบัตรทอง 5. เก็บข้อมูลกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคในหน่วยบริการ 6. เก็บข้อมูลคัดกรองภาวะเสี่ยงของ สปสช.

งานรอง (ต่อ) 7. การส่งข้อมูล/สถิติ/รายงานให้สำนักการแพทย์ ตามโครงการ BMA4 8. การส่งข้อมูล/สถิติ/รายงานให้กองควบคุมโรคเอดส์ สำนักอนามัย

การวัดคุณภาพงานให้การปรึกษา คุณภาพงานบริการปรึกษาด้านสุขภาพอนามัย H.A. - ได้รับการรับรองคุณภาพจากสถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพ 25 กุมภาพันธ์ 2551

การวัดคุณภาพงานให้การปรึกษา Pre Test Csg.-Post Test Csg. VCT HIPQUAL-T PROGRAM CL SURVEY CO SURVEY HIV csg HIPQUAL-T PROGRAM

การวัดคุณภาพงานให้การปรึกษา VCT HIPQUAL-T PROGRAM เริ่มใช้ 2007-ปัจจุบัน

Performance Measurement(PM) Cases Sample size 2007 2008 Number HIV tested client 5,480 7,341 173 183 Number HIV-Negative results 5,260 6,986 101 103 Number HIV-Positive 220 355 72 80 (Oct,05 –Sep,06) (Oct,06 –Sep,07) (Oct,05 –Sep,06) (Oct,06-Sep,07)

ได้รับการบริการปรึกษา VCT HIVQUAL-T indicator FY 2007(Oct,05- Sep,06) - 2008 (Oct,06- Sep,07) % 100% 100% 100% 60.10% 54.10% 35.30% ได้รับการบริการปรึกษา ก่อนการตรวจเลือด ได้รับการประเมิน พฤติกรรมเสี่ยง ลงนามเอกสาร

VCT HIVQUAL-T indicator FY 2007(Oct,05- Sep,06) - 2008 (Oct,06- Sep,07) 100% % 78% ผู้รับบริการที่มีผลเลือดเป็นบวก Positive และผลเลือดได้ผ่านการตรวจยืนยัน

VCT HIVQUAL-T indicator FY 2007(Oct,05- Sep,06) - 2008 (Oct,06- Sep,07) % 100% 100% 100% 100% 62.50% 55.20% 62.50% 28.30% ได้รับบริการปรึกษา ได้รับการปรึกษาป้องกัน/ ผลเลือดเป็นบวก ผลเลือดเป็นบวกได้รับการ หลังการตรวจเลือด การลดพฤติกรรมเสี่ยง ได้รับบริการปรึกษาเพื่อ ส่งต่อเพื่อการดูแลรักษา ดูแลทางสังคม จิตใจ

Quality improvement plan/activity (FY 2007- FY 2008) 1.การเพิ่มศักยภาพพยาบาลหอผู้ป่วย ในการให้การปรึกษาก่อน และหลังการตรวจเลือดหาเชื้อเอชไอวี 2.การค้นหาความเสี่ยงในการติดเชื้อเอชไอวีที่แผนกผู้ป่วยในโดยพยาบาลจากหน่วยให้การปรึกษา 3.จัดระบบการออกผลและแจ้งผลเลือด เอชไอวี

Quality improvement plan/activity (FY 2007- FY 2008) 4.การอบรมเพื่อเพิ่มความรู้เรื่องการติดเชื้อเอชไอวีและการสนับสนุนการตรวจเลือดหาเชื้อเอชไอวีด้วยความสมัครใจในสามีหญิงตั้งครรภ์ 5.การสร้างเสริมศักยภาพบุคลากรในการให้บริการปรึกษาเรื่องโรคเอดส์

Quality improvement plan/activity (FY 2007- FY 2008) 1.การเพิ่มศักยภาพพยาบาลหอผู้ป่วย ในการให้การปรึกษาก่อน และหลังการตรวจเลือดหาเชื้อเอชไอวี วัตถุประสงค์ - เพื่อให้พยาบาลให้การปรึกษาก่อนและหลังการตรวจเลือดหาเชื้อเอชไอวีได้ - เพื่อเพิ่มความสมบูรณ์ของสถิติการปรึกษา - เพื่อค้นหาความเสี่ยงของผู้ใช้บริการหอผู้ป่วย

Quality improvement plan/activity (FY 2007- FY 2008) ตัวชี้วัด 1. จำนวนผู้ป่วยที่ได้รับการให้การปรึกษาก่อนและหลังการตรวจเลือด 2. ความสมบูรณ์ของเวชระเบียนในการบันทึกการปรึกษา ประเมินผล - จำนวนผู้ป่วยที่ได้รับการให้การปรึกษาก่อนและหลังการตรวจเลือด และความสมบูรณ์ของเวชระเบียนในการบันทึกการปรึกษา เพิ่มขึ้น 5%

Quality improvement plan/activity (FY 2007-FY 2008) 2.การให้การปรึกษาและค้นหาความเสี่ยงในการติดเชื้อเอชไอวีที่แผนกผู้ป่วยในโดยผู้ให้การปรึกษาจากหน่วยปรึกษาฯ วัตถุประสงค์ 1. เพื่อเพิ่มจำนวนผู้รับบริการปรึกษาก่อนและหลังเจาะเลือดและเพิ่มความสมบูรณ์ของเวชระเบียนผู้ป่วย 2 เพื่อให้ผู้ป่วยในที่มีผลเลือดลบสามารถประเมินความ เสี่ยงของตนเองในการรับเชื้อเอชไอวีได้ 3 เพื่อให้ผู้ป่วยทราบถึงความสำคัญของการมาตรวจเลือดซ้ำถ้ามีความเสี่ยง

Quality improvement plan/activity (FY 2007- FY 2008) ตัวชี้วัด 1. ร้อยละของผู้รับบริการปรึกษาก่อนและหลังเจาะเลือด 2. ร้อยละความสมบูรณ์ของเวชระเบียน 3. จำนวนผู้ป่วยที่มารับการตรวจเลือดซ้ำ (ยังไม่ได้เก็บ) ประเมินผล - ปีงบประมาณ 2550 –Pre test csg ร้อยละ 60.10 -Post test csg ร้อยละ 55.20

Quality improvement plan/activity (FY 2007- FY 2008) 3. จัดระบบการออกผลและแจ้งผลเลือดเอชไอวี แผนกผู้ป่วยนอกรับผลการตรวจเลือดเอชไอวีได้ที่หน่วยปรึกษาสุขภาพและจิตวิทยาเท่านั้น แผนกผู้ป่วยในรับผลการตรวจเลือดเอชไอวีได้ที่ห้องชันสูตรโรคชั้น 6 เท่านั้น

การวัดคุณภาพงานให้การปรึกษา Client survey result เริ่มใช้ 2008

ผลการเก็บข้อมูลการรับบริการปรึกษาก่อนการตรวจเลือด HIV ข้อที่ คำถาม ใช่ ไม่ใช่ ไม่แน่ใจ 1. ผู้ให้บริการปรึกษาได้พูดคุยกับท่านเรื่อง เชื้อเอช ไอ วี สามารถติดต่อจากบุคคลหนึ่งไปยังผู้อื่นได้อย่างไร 70.9 2 1.4 2. ผู้ให้บริการปรึกษาถามท่านว่า ท่านเคยมีเพศสัมพันธ์โดยไม่ใส่ถุงยางอนามัยหรือไม่ ? 89.9 8.1 3. ผู้ให้บริการปรึกษาถามท่านเกี่ยวกับจำนวนคู่นอนของท่านหรือไม่ 26.4 2.7 4. ผู้ให้บริการปรึกษาถามท่านว่า ท่านทราบหรือไม่ว่าคู่นอนของท่านมีเพศสัมพันธ์กับผู้อื่นด้วยหรือไม่ 23.6 5.4 5. ผู้ให้บริการปรึกษาได้พูดคุย และสาธิตวิธีใส่ถุงยางอนามัยที่ถูกต้องกับท่านหรือไม่ 31.8 66.2

Quality improvement plan/activity (FY 2007-FY 2008) 4. การอบรมเพื่อเพิ่มความรู้เรื่องการติดเชื้อ เอชไอวีและการสนับสนุนการตรวจเลือดหาเชื้อเอชไอวีด้วยความสมัครใจในสามีหญิงตั้งครรภ์ วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้ผู้ใช้บริการมีความรู้เกี่ยวกับการติดเชื้อเอชไอวีแลการใช้ถุงยาง อนามัยที่ถูกต้อง 2. เพื่อให้ผู้ใช้บริการทราบถึงความเสี่ยงของตนเองในการติดเชื้อเอชไอวี 3. เพื่อให้ผู้ใช้บริการสามารถตัดสินใจรับการตรวจเลือดหาเชื้อเอชไอวีด้วย ความสมัครใจ

Quality improvement plan/activity (FY 2007-FY 2008) ตัวชี้วัด 1. จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรมที่รับการตรวจเลือดหาเชื้อ เอชไอวีด้วยความสมัครใจ 2. คะแนนความรู้ก่อนและหลังของผู้เข้าร่วมกิจกรรม ประเมินผล 1. จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรมที่รับการตรวจเลือดหาเชื้อ เอชไอวีด้วยความสมัครใจ 55 ราย (3 เดือน) ยินยอม เจาะเลือด 17 ราย 2. คะแนนความรู้หลังอบรมเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญ ทางสถิติ

การวัดคุณภาพงานให้การปรึกษา Counselor survey result

ผลการวิเคราะห์ข้อมูลผู้ให้การปรึกษาด้านเอดส์ 4. ความพึงพอใจในการทำงานของผู้ให้คำปรึกษา ข้อความ ใช่ (ร้อยละ) ไม่ใช่ 4.1 โดยทั่วไปแล้วท่านพึงพอใจในการทำหน้าที่ให้การปรึกษา 4.2 ท่านมีความรู้สึกมีคุณค่าจากการทำหน้าที่ให้การปรึกษา 4.3 ท่านรู้สึกว่าเพื่อนร่วมงานมองท่านอย่างมีคุณค่า 4.4 ท่านรู้สึกว่าหัวหน้างาน(ผู้บังคับบัญชาที่อยู่ใกล้ตัวท่านที่สุด)มองท่านอย่างมีคุณค่า 4.5 ท่านมีเวลาในการปฏิบัติงานให้การปรึกษาอย่างเพียงพอ 34.3 61.1 45.8 16.7 65.3 38.9 54.2 83.3

Quality improvement plan/activity (FY 2007- FY 2008) 5.การสร้างเสริมศักยภาพบุคลากรในการให้บริการปรึกษาเรื่องโรคเอดส์ วัตถุประสงค์ 1 ผู้เข้ารับการอบรมสามารถให้การปรึกษาก่อนการตรวจเลือดหาเชื้อเอชไอวี/เอดส์และแจ้งผลเลือดกรณีผลเป็นลบ 2 ผู้เข้ารับการอบรมมีระบบในการส่งต่อผู้ป่วยกรณีผลเลือดเป็นบวกให้ได้รับการรักษาและการดูแลด้านสังคม จิตใจ 3 มีระบบการบันทึกและรายงานข้อมูลการให้บริการปรึกษาที่ชัดเจน

Quality improvement plan/activity (FY 2007-FY 2008) ตัวชี้วัด 1. ประเมินผลจาก ผลคะแนนก่อนและหลัง การฝึกอบรม 2. ร้อยละความสมบูรณ์ของเวชระเบียน ประเมินผล 1. คะแนนความรู้หลังอบรมเพิ่มขึ้นอย่างมี นัยสำคัญทางสถิติ 2. ความสมบูรณ์ของเวชระเบียน (กำลังดำเนินการเก็บข้อมูล)

Lesson Learned การนำระบบ IT มาพัฒนาระบบงาน การประสานงานและระบบส่งต่อที่ดี การเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ การทำBENCHMARKทำให้เกิดการพัฒนา การนำจุดเด่นมาขยาย และการนำจุดด้อยมาหาโอกาสพัฒนา การทำงานเป็นทีม

Challenge ปัญหาอุปสรรคในการดำเนินงาน - งานให้การปรึกษายังไม่มีโครงสร้างที่ชัดเจนจึงขาดการจัดสรรอัตรากำลังที่เหมาะสมทำให้ไม่สามารถพัฒนางานได้เต็มที่ - สถานที่ไม่เอื้ออำนวย ไม่สามารถพิทักษ์สิทธิ์ผู้รับบริการ ไม่อาจให้บริการได้ตามความคาดหวัง

Recommendation ข้อเสนอแนะ - พัฒนางานให้การปรึกษาให้มีโครงสร้างที่ชัดเจนและเหมาะสม - ขยายอัตรากำลังผู้ให้การปรึกษา เพื่อให้สามารถรองรับความต้องการการปรึกษา เพื่อการป้องกันโรคและภาวะเจ็บป่วย (เชิงรุก)

Recommendation ข้อเสนอแนะ (ต่อ) - จัดสถานที่ที่เหมาะสม เป็นสัดส่วนเพื่อพิทักษ์สิทธ์และรักษาความลับของผู้ใช้บริการ ,ป้องกันการฟ้องร้อง - ขยายการใช้ VCT HIPQUAL-T ให้กว้างขวาง เพื่อให้เป็นมาตรฐานเดียวกันทั่วประเทศ

Quality improvement plan/activity (FY 2009) 1. การให้ข้อมูล/ความรู้เรื่องการติดเชื้อเอชไอวีและการ สนับสนุนการตรวจเลือดหาเชื้อเอชไอวีด้วยความสมัครใจในกลุ่มผู้ใช้บริการแผนกต่างๆ ของโรงพยาบาลกลาง ปรับปรุงแนวทางปฏิบัติด้าน VCT เชิงรุก การทำ R To R เพื่อพัฒนางานบริการปรึกษา

ขอบคุณ TUC สำนักการแพทย์ กทม.

สวัสดี