โรงพยาบาลทับสะแก อำเภอทับสะแก จังหวัดประจวบคีรีขันธ์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
Advertisements

การทำงานเชิงรุกและการส่งต่อ
ดูแล ด้วยใจ ห่วงใยด้วย pap โดย ลาเดือน แก้วจินดา 04/04/60.
การควบคุมวัณโรคเขตเมือง
การพัฒนาหลังจากมีการกำหนดค่ากลางของจังหวัด
การบริหาร ยุทธศาสตร์บูรณา การการป้องกันและ แก้ไขปัญหาเอดส์ ระดับจังหวัด กลุ่มผู้ติดเชื้อ เอชไอวี
ปัญหา เอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
การดูแลผู้ติดเชื้อและผู้ป่วยเอดส์ ด้วยโปรแกรม HIVQUAL-T
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและโอกาสพัฒนาในโครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต 10 สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10 เชียงใหม่
โรงพยาบาลท่าม่วง อำเภอท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุรี
คณะทำงานการดูแลรักษาผู้ติดเชื้อผู้ป่วยเอดส์ด้วยยาต้านไวรัส
คุณภาพมาตรฐาน บริการด้วยนำใจ สิ่งแวดล้อมสดใส ห่วงใยปวงประชา
สรุปผลการดำเนินงาน โครงการพัฒนารูปแบบการดูแลรักษาผู้ติดเชื้อและ ผู้ป่วยเอดส์อย่างครอบคลุมในพื้นที่ 8 จังหวัดภาคเหนือตอนบน (TUC Care Project) ปี
Group Learning HIVQUAL-T Forum
โครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลรักษา ผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์
Best Practice โรงพยาบาลสมเด็จพระญาณสังวร จังหวัดเชียงราย
โรงพยาบาล หน่วยบริการ.
สถานการณ์เอดส์ เด็ก 28 ราย ผู้ติดเชื้อและผู้ป่วยเอดส์สะสม ทั้งจังหวัด
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและโอกาส พัฒนาในโครงการพัฒนาคุณภาพการดูแล ผู้ติดเชื้อ ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต 12.
โรงพยาบาลอุตรดิตถ์ รพศ. ขนาด 562 เตียง.
โรงพยาบาลสิรินธร สำนักการแพทย์ กรุงเทพมหานคร
การคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในหญิงติดเชื้อ : ประสบการณ์โรงพยาบาลแม่ลาว Mae Lao hospital, Chiang Rai province, Thailand สุทธินีพรหมใจษา วราลักษ์ รัตนธรรม สุภาพรตันสุวรรณ.
การบูรณาการงานเอดส์ วัณโรค และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
การบูรณาการงาน HIV CARE สู่งานพัฒนาคุณภาพ
โรงพยาบาลทับสะแก อ.ทับสะแก จ.ประจวบคีรีขันธ์ ขนาด 60 เตียง
การใช้ข้อมูลจากโปรแกรม NAP
การจัดการระบบการดูแลรักษา โดยผู้ประสานงานในโรงพยาบาลห้วยพลู
การส่งเสริมวินัยการกินยาต้านไวรัสเอดส์
บทเรียน.. การดำเนินงานพัฒนาคุณภาพบริการ ด้วยรูปแบบ HIVQAUL-T ในเขต 13
25/07/2006.
การพัฒนาคุณภาพบริการ การดูแลผู้ติดเชื้อเอชไอวีและผู้ป่วยเอดส์
ภาพรวม/บทเรียนการดำเนินงานพัฒนาคุณภาพฯ HIVQUAL-T ของ รพ.ครู ก.
การส่งเสริมผู้ติดเชื้อ / ผู้ป่วยเอดส์รายใหม่เข้าสู่ระบบการดูแลรักษา
1. ชื่อผลงาน: ส่งเสริมการเข้าถึงบริการอย่างเป็นมิตร
การพัฒนาคุณภาพด้านการดูแลรักษาผู้ติดเชื้อและผู้ป่วยเอดส์ ( CQI Story)
การพัฒนางานคุณภาพงานเอดส์
โครงการเพื่อนช่วยเพื่อน กลุ่มดอกไม้งาม อ.มวกเหล็ก จ.สระบุรี
การพัฒนาระบบการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก
สถานการณ์และการดำเนินงานดูแลเด็กติดเชื้อเอชไอวี
การดูแล ผู้ติดเชื้อ / ผู้ป่วยเอดส์ ตำแหน่ง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
ผลการพัฒนาการบันทึกข้อมูล HIV-QualT ในโรงพยาบาลระโนด จ. สงขลา. โดย นส
ระบบบริการดี ตรวจซีดีโฟร์ ครบตามมาตรฐาน
ผลการเฝ้าระวัง และป้องกันความล้มเหลวในการรักษาในโรงพยาบาลระโนด จ. สงขลา โดย นส.จาฤดี กองผล, นางละมัย ช่วยแดง พยาบาลประจำคลินิกยาต้านไวรัสโรงพยาบาลระโนด.
บริบาลเภสัชกรรม รวดเร็วปลอดภัย คลินิกเด็กหัวใจสีเหลือง.
โครงการ/กิจกรรมสำคัญในปี 2557 สิ่งที่ CUP/อำเภอดำเนินการ
งานป้องกันและควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาล
แนวทางการบริหารกองทุน ที่จ่ายตามเกณฑ์คุณภาพ ปีงบประมาณ 2552
นโยบายการป้องกัน การถ่ายทอดเชื้อเอชไอวีจากแม่สู่ลูก สำหรับประเทศไทย พ
แนวทางการดำเนินงาน ส่งเสริม ป้องกันและควบคุมโรคธาลัสซีเมีย
คลินิกผู้สูงอายุต้นแบบ (Geriatric Clinic Model) โรงพยาบาลอุดรธานี
การดำเนินงาน ด้านเอดส์ในแม่และเด็ก
นางวิมล นวลมี พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
นโยบายคุณภาพ Quality Policy
โรงพยาบาลสุรินทร์ จังหวัดสุรินทร์
บทเรียนจากการเก็บข้อมูลภาคสนามเพื่อการติดตามตาม HIVDR-EWI
การตรวจเลือดเอชไอวี แบบทราบผลในวันเดียว
โรคติดเชื้อไวรัสไข้หวัดใหญ่
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
ประจำเดือนมกราคม 2557 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
สรุปการประชุมกลุ่มย่อยที่ 1
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
การจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ และป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี
สาขาโรคมะเร็ง.
แนวทางการดำเนินงานสุขภาพจิต กลุ่มวัยทำงาน
Conference TB-HIV โรงพยาบาลหนองจิก
วัณโรค อยู่ใกล้ตัวคุณ...แค่นี้เอง.
ได้รับจัดสรรวงเงิน 3,218,091. เกณฑ์การจัดสรรสัดส่วน (%) วงเงิน ( 3,218,091 ) 1. ประชากร30 965, ผลงาน70 2,252,664 แนวทางการจัดสรร งบ P4P จ.กระบี่
แนวทางการส่งต่อผู้ป่วยโรคเบาหวานไปรับการรักษาที่
การจัดการข้อมูลเพื่อประมวลผลงานตามตัวชี้วัดปี58
คลินิกสุขภาพเด็กดีคุณภาพ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โรงพยาบาลทับสะแก อำเภอทับสะแก จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ โดยนางสาววรรณพร วงศ์ทองดี

ระบบการดูแลผู้ป่วยเอดส์ก่อนการประเมินคุณภาพบริการ ระบบการส่งต่อภายในโรงพยาบาลไม่ชัดเจน การดูแลแยกส่วน ไม่มีส่วนร่วมของแกนนำกับเจ้าหน้าที่ ไม่มีการกำหนดแนวทางการดำเนินงานร่วมกัน มีการดูแลผู้ป่วยเฉพาะผู้รับยาต้านไวรัสเอดส์ ไม่ได้ดูแลผู้ติดเชื้อ HIV ที่เข้ารับบริการทุกราย การดูแลไม่ครอบคลุมประเด็นตัวชี้วัดที่หน่วยบริการควรดูแล การจัดเก็บข้อมูลไม่เป็นระบบ

จำนวนผู้ติดเชื้อ / ผู้ป่วยเอดส์ ผลการประเมินคุณภาพของโรงพยาบาลทับสะแก จำนวนผู้ติดเชื้อ / ผู้ป่วยเอดส์ รับบริการในคลินิก 158 ราย เพศ ชาย 61 หญิง 96 รับยา/สูตรดื้อยา 44 / 2 61 / 3 ไม่ได้รับยา 17 35

ผลการวัด HIVQUAL-T ตัวชี้วัดหลัก

ผลการวัด HIVQUAL-T ตัวชี้วัดเสริม

แผนการปรับปรุงคุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ Quality Improvement Project 1. จัดทำคู่มือในการปฏิบัติงานทุกหน่วยงานที่ให้บริการโดยยึดมาตรฐานการดูแลผู้ป่วยตามเกณฑ์ สปสช.

แผนการปรับปรุงคุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ Quality Improvement Project 2. พัฒนาเจ้าหน้าที่ พยาบาล , เจ้าหน้าที่ PCU , จพง.เภสัชกรรม จำนวน 2 รุ่น 3. วางระบบการดูแลผู้ป่วย และ การจัดเก็บข้อมูล - การกำหนดขั้นตอนปฏิบัติสำหรับผู้ติดเชื้อรายใหม่ - กำหนดขั้นตอนบริการ PMTCT และ CARE กับคลินิก ARV - การส่งผู้ป่วยเข้าคลินิก / ตารางนัดหมายประจำปี / บัตรนัดของผู้ป่วยรายปี - การส่งข้อมูลขึ้นทะเบียนผู้ติดเชื้อรายใหม่ / การตรวจสอบข้อมูลจากเวชระเบียน - การแบ่งบทบาทเจ้าหน้าที่ ให้คำปรึกษาในหน่วยงานต่างๆ - กำหนดแบบฟอร์มในการรวบรวมข้อมูลให้ชัดเจนขึ้น - แผนการปฏิบัติงานของคลินิก , การติดตามและประเมินผล - โดยให้งานที่ทำทุกอย่างเหมือนงานประจำ

สรุปผลการดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตค.50 – 20 สค.51 รายการ ปี 51 หมายเหตุ 1. คัดกรองภาวะสุขภาพ 90.58 % 2. เอ็กซเรย์ปอด 78.26 % กิน ARV พบ TB 1 ราย 3. ตรวจหาซิฟิลิส 99.28 % VDRL Positive = 5 ราย Titer 1 :1 4. ตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก 74.70 % ผิดปกติ ทั้งหมด 7 ราย 5. ตรวจหาปริมาณไวรัสในเลือดอย่างน้อย 1 ครั้ง 91.78 % 6. ตรวจหา VL จากผู้ที่รับยา ARV 93.41 % 7. การได้รับยา OI 98.16 % 8. หญิงตั้งครรภ์ได้รับยาป้องกันการแพร่เชื้อจากแม่สู่ลูก 100 % 9. การป้องกันการแพร่เชื้อ   - ใช้ถุงยางทุกครั้ง 88.24 %

สิ่งที่ได้เรียนรู้จากโครงการ ระบบการทำงานของโรงพยาบาล การทำงานเป็นทีมที่ชัดเจน การกำหนดบทบาทของหน่วยงาน การจัดเก็บข้อมูลที่เป็นระบบ มีการตรวจสอบข้อมูลเบื้องต้น

Best Practice ที่ได้รับจากโครงการ QI ใบคัดกรองวัณโรค วันเดือนปี...................................................ชื่อ - สกุล.................................................................................................. ส่วนที่1 สัมภาษณ์ ผู้รับบริการและวงกลมข้อที่พบ อาการทางคลินิกที่เข้าได้กับการติดเชื้อวัณโรค ความเสี่ยงต่อการติดเชื้อวัณโรค 1. มีอาการไอเรื้อรังนานกว่า 2 สัปดาห์   1. มีประวัติสัมผัสหรือคลุกคลีกับผู้ติดเชื้อวัณโรค 2. มีไข้ต่ำๆเรื้อรังนานกว่า 2 สัปดาห์ ที่บ้านหรือที่ทำงาน 3. น้ำหนักลด 2. มีประวัติรักษาวัณโรค 4. ไอเป็นเลือด 3. ฉีดยาเสพติดเข้าเส้น 5. เหงื่อออกตอนกลางคืน 4. เคยติดคุก - ถ้ามีอาการทางคลินิกข้อใดข้อหนึ่งให้ส่งตรวจเสมหะ 3 วัน และ Chest X - ray ด้วย - ถ้ามีความเสี่ยงข้อใดข้อหนึ่ง แต่ไม่มีอาการทางคลินิก ให้ Chest X - ray อย่างเดียว กรณีผล ฟิลม์ไม่แน่ชัด / สงสัยวัณโรคปอด ให้เพิ่มเก็บ AFB X 3 วัน - การเก็บเสมหะ ต้องมี Collected อย่างน้อย 1 ครั้ง - การ Chest X - ray ให้เช็คประวัติด้วยทุกครั้ง ถ้าเคยมา Chest X - ray ภายใน 1 สัปดาห์ ไม่ต้องทำอีก

ส่วนที่ 2 การคัดกรอง รายละเอียด   ได้รับ ไม่ได้รับ ผู้รับบริการได้รับความรู้เรื่องวัณโรค ผู้รับบริการได้รับการสัมภาษณ์เพื่อคัดกรองในส่วนที่ 1 ผู้รับบริการได้รับการตรวจ AFB X 3 วัน ผู้รับบริการได้รับการส่งตรวจ CXR ส่วนที่ 3 ผลการคัดกรองวัณโรค 1. ผลการคัดกรองวัณโรค ( ) เป็นวัณโรค ( ) ไม่เป็นวัณโรค 2. ผลการคัดกรอง VDRL ( ) ปกติ ( ) Positive ( ) ไม่ได้ตรวจ VDRL

แบบประเมิน และคัดกรองภาวะสุขภาพ ทุก 6 เดือน ชื่อ – สกุล............................................................................................... รายการ วันที่ประเมิน................................. 1.สถานภาพ ( ) โสด ( ) คู่ ( ) หม้าย ,แยกกัน 2. เพศสัมพันธ์ ( ) มี ( ) ไม่มี 3. การใช้ถุงยางอนามัย ( ) ไม่ใช้ ( ) ใช้ทุกครั้ง ( ) ใช้บางครั้ง 4. แหล่งถุงยาง ( ) รพ. ( ) PCU ( ) ซื้อ 5. การคุมกำเนิด ใช้วิธี.................................... 6. คู่ทราบผลเลือด ( ) ทราบ ( ) ไม่ทราบ 7. แนะนำให้คู่มาตรวจเลือด ( ) แนะนำ ( ) ไม่ได้แนะนำ 8. ผลเลือดของคู่ ( ) Negative ( ) Positive ( ) ไม่ทราบ 9. คัดกรองวัณโรค ( ) ไม่เสี่ยง ( ) AFB ( ) CXR ผล....... 10. คัดกรองโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ( )ไม่มีอาการ ( ) มีอาการ................. 11.คัดกรอง VDRL วันที่..................ผล................... 12. Pap’ smear วันที่................. ผล..................... 13.Routine Lab วันที่.......................................... 14. CXR ปีละ 1 ครั้ง วันที่.........................................

แบบบันทึกการให้คำปรึกษา ปัญหา / การให้คำปรึกษา ชื่อ - สกุล................................. วดป. ปัญหา / การให้คำปรึกษา การติดตาม   บันทึกการใช้ยา ARV ชื่อ - สกุล....................HN…………..   เดือน ปัญหาการขาดยา Adherance

ข้อเสนอแนะ / ปัญหาอุปสรรคในการดำเนินงาน ด้านโปรแกรม - กรณีผู้ป่วยแพ้ยารักษา OI เวลาลงโปรแกรมข้อมูลจะขาดไป - การคิด Adherence ผู้บันทึกยังไม่ค่อยมั่นใจ ด้านผู้ป่วย - กรณีที่เป็นผู้ติดเชื้อ ไม่มีอาการ มักไม่มาตรวจตามนัด ทำให้ข้อมูลไม่ได้ตามเป้าหมาย - การตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ผู้รับบริการบางรายไม่ยินยอม ด้านผู้ให้บริการ - ผู้รับบริการเพิ่มมากขึ้น การทำงานเน้นคุณภาพมากขึ้น ภาระงานเพิ่มขึ้น