ค21201 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
คณิตคิดเร็วโดยใช้นิ้วมือ
Advertisements

โปรแกรมฝึกหัด การเลื่อนและคลิกเมาส์
การประยุกต์ Logic Gates ภาค 2
วิชา องค์ประกอบศิลป์สำหรับคอมพิวเตอร์ รหัส
ระบบเลขฐานสอง โดย นางสาวภาณุมาศ นักษัตรมณฑล รหัสนิสิต
การซ้อนทับกัน และคลื่นนิ่ง
เลขฐานต่าง ๆ อ.มิ่งขวัญ กันจินะ.
DSP 6 The Fast Fourier Transform (FFT) การแปลงฟูริเยร์แบบเร็ว
EEET0485 Digital Signal Processing Asst.Prof. Peerapol Yuvapoositanon DSP3-1 ผศ.ดร. พีระพล ยุวภูษิตานนท์ ภาควิชา วิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์ DSP 6 The Fast.
เรื่อง การคูณ สื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดย ครูเพ็ญพิมล สิทธิวรเกียรติ
เปรียบเทียบจำนวนประชากรทั้งหมดจากฐาน DBPop Original กับจำนวนประชากรทั้งหมดที่จังหวัดถือเป็นเป้าหมาย จำนวน (คน) 98.08% % จังหวัด.
เกตทางตรรกและพีชคณิตแบบบูล
การแทนข้อมูลในคอมพิวเตอร์
วงจรดิจิตอล Digital Circuits Wadchara.
CS Assembly Language Programming
ทศนิยมและเศษส่วน F M B N โดย นางสาวสุพรรษา ธรรมสโรช.
ระบบตัวเลขฐานสิบสอง สัญลักษณ์หรือเลขโดดที่ใช้ในระบบตัวเลขฐานสิบสอง
Number System[1] เลขฐาน & ASCII CODE Number System[1]
NUMBER SYSTEM เลขฐานสิบ (Decimal Number) เลขฐานสอง (Binary Number)
จำนวนนับใดๆ ที่หารจำนวนนับที่กำหนดให้ได้ลงตัว เรียกว่า ตัวประกอบของจำนวนนับ จำนวนนับ สามารถเรียกอีกอย่างว่า จำนวนเต็มบวก หรือจำนวนธรรมชาติ ซึ่งเราสามารถนำจำนวนนับเหล่านี้มา.
EEE 271 Digital Techniques
Digital Logic and Circuit Design
ระบบเลข และการแทนรหัสข้อมูล
Arithmetic circuits Binary addition Binary Subtraction
การหาค่ากำลังสองของเลขที่ลงท้ายด้วย 5
การหาค่ากำลังสองของเลขที่ลงท้ายด้วย 5
กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ โรงเรียนบ้านหนองกุง อำเภอนาเชือก
A.5 Solving Equations การแก้สมการ.
กระบวนการคิดทางคณิตศาสตร์
ดิจิตอล + เลขฐาน บทที่ 2.
Introduction to Digital System
บทที่ 3 ตัวดำเนินการ และ นิพจน์
จำนวนทั้งหมด ( Whole Numbers )
ASSIGN3-4. InstructionResult Z-FlagC-FlagP-FlagS-FlagO-Flag MOV AL,9Eh 9Eh H ????? ADDAL,9Eh 3C ADD AL,1Eh 5A
อาร์เรย์และข้อความสตริง
ความหมายของตัวเลขในหลักต่าง ๆ
Kampol chanchoengpan it สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ Arithmetic and Logic Unit 1.
C# Operation สุพจน์ สวัตติวงศ์ Reference:
ระบบเลขฐาน (Radix Number)
แผนผังคาร์โนห์ Kanaugh Map
แนวทางการปฏิบัติโครงการจูงมือ น้องน้อยบนดอยสูง 1.
ตอนที่ 4 ความรู้พื้นฐานทางดิจิตอล
ความสัมพันธ์เวียนบังเกิด
การแปลงเลขฐานใดๆเป็นฐานใดๆ
ค33211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 5
ค31211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 1
ค31211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 1
ณัฏฐวุฒิ เอี่ยมอินทร์
สัปดาห์ที่ 7 การแปลงลาปลาซ The Laplace Transform.
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ (Computer Architecture)
CS Assembly Language Programming
ระบบคอมพิวเตอร์และการประมวลผล
ค21201 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1
F M B N สมบัติของจำนวนนับ ตัวคูณร่วมน้อย (ค.ร.น.).
ชนิดของข้อมูล 1) ข้อมูลที่เป็นตัวเลข (Numeric Data) หมายถึง ข้อมูลที่ใช้แทนจำนวนที่สามารถนำ ไปคำนวณได้ ข้อมูลแบบนี้เขียนได้หลายรูปแบบ คือ           ก.
ระบบเลขฐานต่าง ๆ By ครูนภาพร.
ง เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ระบบเลขฐาน
ระบบเลขในคอมพิวเตอร์
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
ระบบเลขฐาน.
แบบฝึกหัด จงหาคำตอบที่ดีที่สุด หรือหาค่ากำไรสูงสุด จาก
จำนวนจริง จำนวนอตรรกยะ จำนวนตรรกยะ เศษส่วน จำนวนเต็ม จำนวนเต็มบวก
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
ระบบเลขจำนวน ( Number System )
สื่อการสอนด้วยโปรมแกรม “Microsoft Multipoint”
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
วิธีเรียงสับเปลี่ยนและวิธีจัดหมู่
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ค21201 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1 ระบบเลขฐาน ค21201 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1

เลขฐานสิบ มีเลขโดดทั้งหมด 10 ตัวตั้งแต่ 0, 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9 มีค่าประจำหลักเป็นตัวกำหนดค่าในหลักนั้น ค่าประจำหลัก คือ 10 (หลัก-1)

ตารางแสดงค่าประจำหลักฐานสิบ หลักที่ ... หก ห้า สี่ สาม สอง หนึ่ง ค่าประจำหลัก 105 หรือ 100,000 104 10,000 103 1,000 102 100 101 10 1

ตัวอย่างการเขียนเลขจำนวนฐานสิบ จงเขียน 3,402,167 ในรูปการกระจาย 3,402,167 = (3×106) + (4×105) + (0×104) + (2×103) + (1×102) + (6×10) + (7×1)

เลขฐานห้า ใช้แนวทางเดียวกับเลขฐานสิบ แต่ต่างกันที่มีเลขโดด 5 ตัวคือ 0 1 2 3 4 เมื่อครบ 5 ให้ทดเป็นหลักต่อไป

การเรียงเลขฐานสิบ 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 ... 90 91 92 93 94 95 96 97 98 99 100 101 ...

การเรียงเลขฐานห้า 0 1 2 3 4 10 11 12 13 14 20 21 22 23 24 30 31 32 33 34 40 41 42 43 44 100 101 ...

ตารางแสดงค่าประจำหลักฐานห้า หลักที่ ... หก ห้า สี่ สาม สอง หนึ่ง ค่าประจำหลัก 55 หรือ 3125 54 625 53 125 52 25 51 5 50 1

หลักการเขียนเลขฐานสิบจากฐานห้า 1. นำตัวเลขคูณกับค่าประจำหลัก 2. นำผลบวกของแต่ละชุดมาบวกกัน

ตัวอย่างการเขียนเลขฐานสิบจากฐานห้า 1. จงเขียน 32ห้า ในรูปเลขฐานสิบ วิธีทำ 32ห้า = (3×51) + (3×50) = (3×5) + (3×1) = 15 + 3 = 18 ตอบ 18

ตัวอย่างการเขียนเลขฐานสิบจากฐานห้า 2. จงเขียน 504ห้า ในรูปเลขฐานสิบ วิธีทำ 204ห้า = (2×52) + (0×51) + (4×50) = (2×25) + (0×5) + (4×1) = 50 + 0 + 4 = 54 ตอบ 54

หลักการเขียนเลขฐานห้าจากฐานสิบ 1. นำเลขฐานสิบตั้งหารสั้นด้วย 5 2. เขียนเศษจากการหารไว้ทางขวามือ 3. ให้หารไปเรื่อยๆจนกว่าผลหารจะเป็น 0 4. นำเศษจากการหารมาเป็นคำตอบจากล่างขึ้นบน

ตัวอย่างการเขียนเลขฐานห้าจากฐานสิบ 1. จงเขียน 13 ในรูปเลขฐานห้า วิธีทำ 5 ) 1 3 5 ) 2 3 __0 2 ตอบ 23ห้า

ตัวอย่างการเขียนเลขฐานห้าจากฐานสิบ 2. จงเขียน 234 ในรูปเลขฐานห้า วิธีทำ 5 ) 2 3 4 5 ) 4 6 4 5 ) 9 1 5 ) 1 4 1 ตอบ 1414ห้า

เลขฐานสอง ใช้แนวทางเดียวกับเลขฐานห้า แต่ต่างกันที่มีเลขโดด 2 ตัวคือ 0 1 เมื่อครบ 2 ให้ทดเป็นหลักต่อไป

การเรียงเลขฐานสิบ 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 ... 90 91 92 93 94 95 96 97 98 99 100 101 ...

การเรียงเลขฐานสอง 0000 0001 0010 0011 0100 0101 0110 0111 1000 1001 1010 1011 1100 1101 1110 1111

ตารางแสดงค่าประจำหลักฐานสอง หลักที่ ... หก ห้า สี่ สาม สอง หนึ่ง ค่าประจำหลัก 25 หรือ 32 24 16 23 8 22 4 21 2 20 1

หลักการเขียนเลขฐานสิบจากฐานสอง 1. นำตัวเลขคูณกับค่าประจำหลัก 2. นำผลบวกของแต่ละชุดมาบวกกัน

ตัวอย่างการเขียนเลขฐานสิบจากฐานสอง 1. จงเขียน 101สอง ในรูปเลขฐานสิบ วิธีทำ 101สอง = (1×22) + (0×21) + (1×20) = (1×4) + (0×2) + (1×1) = 4 + 0 + 1 = 5 ตอบ 5

ตัวอย่างการเขียนเลขฐานสิบจากฐานสอง 2. จงเขียน 1101สอง ในรูปเลขฐานสิบ วิธีทำ 1101สอง = (1×23)+(1×22)+(0×21)+(1×20) = (1×8)+ (1×4) + (0×2) + (1×1) = 8 + 4 + 0 + 1 = 13 ตอบ 13

หลักการเขียนเลขฐานสองจากฐานสิบ 1. นำเลขฐานสิบตั้งหารสั้นด้วย 2 2. เขียนเศษจากการหารไว้ทางขวามือ 3. ให้หารไปเรื่อยๆจนกว่าผลหารจะเป็น 0 4. นำเศษจากการหารมาเป็นคำตอบจากล่างขึ้นบน

ตัวอย่างการเขียนเลขฐานห้าจากฐานสิบ 1. จงเขียน 3 ในรูปเลขฐานสอง วิธีทำ 2 ) 3 2 ) 1 1 1 ตอบ 11สอง

ตัวอย่างการเขียนเลขฐานสองจากฐานสิบ 2. จงเขียน 12 ในรูปเลขฐานสอง วิธีทำ 2 ) 1 2 2 ) 6 2 ) 3 2 ) 1 1 1 ตอบ 1100สอง

เลขฐานสิบสอง ใช้แนวทางเดียวกับเลขฐานสิบสอง แต่ต่างกันที่มีเลขโดด 12 ตัวคือ 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 A B เมื่อครบ 12 ให้ทดเป็นหลักต่อไป

การเรียงเลขฐานสิบ 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 ... 90 91 92 93 94 95 96 97 98 99 100 101 ...

การเรียงเลขฐานสิบสอง 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 A B 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 1A 1B 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 2A 2B ... A0 A1 A2 A3 A4 A5 A6 A7 A8 A9 AA AB B0 B1 B2 B3 B4 B5 B6 B7 B8 B9 BA BB

ตารางแสดงค่าประจำหลักฐานสอง หลักที่ ... หก ห้า สี่ สาม สอง หนึ่ง ค่าประจำหลัก 125 หรือ 248832 124 20736 123 1728 122 144 121 12 120 1

หลักการเขียนเลขฐานสิบจากฐานสิบสอง 1. นำตัวเลขคูณกับค่าประจำหลัก 2. นำผลบวกของแต่ละชุดมาบวกกัน

ตัวอย่างการเขียนเลขฐานสิบจากฐานสอง 1. จงเขียน 101สอง ในรูปเลขฐานสิบ วิธีทำ 101สอง = (1×22) + (0×21) + (1×20) = (1×4) + (0×2) + (1×1) = 4 + 0 + 1 = 5 ตอบ 5

ตัวอย่างการเขียนเลขฐานสิบจากฐานสอง 2. จงเขียน 1101สอง ในรูปเลขฐานสิบ วิธีทำ 1101สอง = (1×23)+(1×22)+(0×21)+(1×20) = (1×8)+ (1×4) + (0×2) + (1×1) = 8 + 4 + 0 + 1 = 13 ตอบ 13

หลักการเขียนเลขฐานสองจากฐานสิบ 1. นำเลขฐานสิบตั้งหารสั้นด้วย 2 2. เขียนเศษจากการหารไว้ทางขวามือ 3. ให้หารไปเรื่อยๆจนกว่าผลหารจะเป็น 0 4. นำเศษจากการหารมาเป็นคำตอบจากล่างขึ้นบน

ตัวอย่างการเขียนเลขฐานห้าจากฐานสิบ 1. จงเขียน 3 ในรูปเลขฐานสอง วิธีทำ 2 ) 3 2 ) 1 1 1 ตอบ 11สอง

ตัวอย่างการเขียนเลขฐานสองจากฐานสิบ 2. จงเขียน 12 ในรูปเลขฐานสอง วิธีทำ 2 ) 1 2 2 ) 6 2 ) 3 2 ) 1 1 1 ตอบ 1100สอง