สรุปประเด็นการประชุมสัมมนากลุ่มย่อย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
Advertisements

ระบบการประเมินเพื่อพัฒนาผลการปฏิบัติงาน บุคลากรสายสนับสนุน
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
กุลภัทรา สิโรดม 20 กรกฎาคม 2554
การปฏิบัติและจัดการงาน ให้มีประสิทธิภาพ
โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การจัดทำแผนการพัฒนาและการปฏิบัติการ ของโครงการโดยเจ้าหน้าที่โครงการมีส่วนร่วม ปี พ.ศ.2552.
ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
KM RID Team Work / Team Learning / AAR.
แผนภูมิแสดงความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์ สำนักงานสหกรณ์จังหวัดแม่ฮ่องสอน
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
แผนที่ยุทธศาสตร์สำนักพัฒนาโครงสร้างและระบบบริหารงานบุคคล
คำอธิบายแนวทางการให้คะแนน เอกสาร/หลักฐานการดำเนินงาน
การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
หลักการบริหารภาครัฐยุคใหม่
การจัดทำระบบบริหารผลการปฏิบัติงาน ขององค์กรและบุคคล Performance Management System( PMS ) โดย สำนักงานปศุสัตว์จังหวัดสมุทรสงคราม.
การเสริมประสิทธิภาพการวัด และประเมินผลในชั้นเรียน
แผนการขับเคลื่อนกรอบคุณวุฒิแห่งชาติสู่การปฏิบัติ
หมวด2 9 คำถาม.
1. การดำเนินงานในรูปแบบคณะกรรมการ/คณะทำงาน
หมวด 1 การนำองค์กร การให้การสนับสนุนชุมชน ดำเนินงานอย่างมีจริยธรรม
แนวทางการดำเนินงานโครงการสำคัญ ปีงบประมาณพ.ศ.2554 กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
ถอดรหัส Nanoka : ภาวะผู้นำและการประเมินแนวใหม่
ตัวชี้วัดที่ 11. ระดับความสำเร็จของ การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการ ภาครัฐ (PMQA) หมวด 7 RM 6.
ภารกิจและนโยบาย 6 ยุทธศาสตร์ 35 กลยุทธ์ ของ ส.อ.ศ. บัญญัติ สมสุพรรณ
มิติที่ 4 ด้านการพัฒนาองค์กร
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
ผลการดำเนินงานองค์กร (Performance Measurement)
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ถอดบทเรียนความก้าวหน้า ในการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สู่การปฏิบัติ
ประชาชน ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน
เอกสารประกอบการประชุมผู้บริหารกรมควบคุมโรค
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
1. แผนงาน PP จังหวัด ยังไม่ ตอบสนองปัญหาจริงของ จังหวัด แต่ละจังหวัดมีแผนที่ ชัดเจน และการใช้แผน แตกต่างกันมาก 2. การดำเนินงานจริง ไม่อิง ยุทธศาสตร์ /
การตรวจรับรองเกณฑ์คุณภาพการบริหาร จัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (Certify FL) 1.
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและโอกาสพัฒนาในโครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต 10 สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10 เชียงใหม่
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด2 9คำถาม.
การจัดการที่ดินทำกินและที่อยู่อาศัย โดยขบวนองค์กรชุมชนและท้องถิ่น
การสร้างแผนที่ยุทธศาสตร์ปฏิบัติการย่อย (Mini-SLM)
การสร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
ทำไมต้องปรับระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ?
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
กลุ่มที่ 13 ประกอบด้วยกลุ่มบุคคลที่มาจากหลายเขต เช่น เขต 1, 2, 3, 10, 15 มีทั้งหมด 3 ประเด็นด้วยกัน คือ 1. สรุปกระบวนการและข้อเสนอแนะการนิเทศ รพ.สต. รอบที่
การบริหารเชิงยุทธศาสตร์
โครงการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ (การส่งเสริมให้ส่วนราชการนำร่อง เข้าสู่การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ) เขียนลักษณะสำคัญขององค์กร :
ประโยชน์ต่อส่วนราชการ
“การพัฒนาสำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด สู่การเป็นองค์กรสมรรถนะสูง”
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ปฏิบัติการ(SLM) ร่วมสองกรม
เครือข่ายการ พัฒนา ทรัพยากร มนุษย์ สุริยะ วงศ์คง คาเทพ.
คำแนะนำการใช้ SLM ร่วมระหว่าง กรมอนามัยและควบคุมโรค  การจัดการทั่วไป 1. สสจ. จัดประชุมเพื่อพัฒนา SLM ร่วมเพิ่มเติม ผู้ เข้าประชุมประกอบด้วยคณะผู้แทนศูนย์อนามัย.
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
Service Profile สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล 27 สิงหาคม 2551
โดย นายแพทย์วุฒิไกร มุ่งหมาย นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดอุบลราชธานี
กระบวนการที่สร้างคุณค่า และ กระบวนการสนับสนุน
การดำเนินงานประจำปี2557 สท.
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
การวางแผนยุทธศาสตร์.
การแปลงนโยบายและแผน นำสู่การปฏิบัติ
การเรียนรู้ ผ่าน SERVICE PROFILE
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
กลุ่มที่ 2 กลุ่มพัฒนาภาคีเครือข่าย สคร.1-12
1 การประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การติดตาม ประเมินผล กรมควบคุม โรค ปี 2553 วันที่ 2 มีนาคม 2553 เวลา – น. ณ ศูนย์ปฏิบัติการกรมควบคุมโรค อาคาร.
โครงการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศที่ดำเนินการในปีงบประมาณ 2553
จุดเน้น ด้านการบริหารจัดการ
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
โครงการจัดตั้ง กองแผนงาน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สรุปประเด็นการประชุมสัมมนากลุ่มย่อย “สานสัมพันธ์และบริหารเครือข่ายการพัฒนาระบบราชการ” วันที่ 1 - 2 กรกฎาคม 2553 ณ โรงแรมโบนันซ่า เขาใหญ่ จังหวัดนครราชสีมา

สรุปประเด็นการประชุมสัมมนากลุ่มย่อย “สานสัมพันธ์และบริหารเครือข่ายการพัฒนาระบบราชการ” วันที่ 1 - 2 กรกฎาคม 2553 ณ โรงแรมโบนันซ่า เขาใหญ่ จังหวัดนครราชสีมา

การเปลี่ยนแปลงในระบบราชการที่ต้องการให้เกิดผลเร็ว การสัมมนากลุ่มผู้นำบริหารการเปลี่ยนแปลงกับฝ่ายบริหารสำนักงาน ก.พ.ร. การเปลี่ยนแปลงในระบบราชการที่ต้องการให้เกิดผลเร็ว ระบบราชการที่มีมาตรฐาน มีความทันสมัย และมีประสิทธิภาพ คนในระบบมีคุณภาพ ศักดิ์ศรี ศักยภาพของข้าราชการต้องตอบสนองต่อความต้องการและความ คาดหวังของประชาชน ควรเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วม ผู้นำองค์กรมีความสำคัญในการพัฒนาระบบราชการ

เป็นห่วงอนาคตระบบราชการ คนดีที่คาดหวังไม่สามารถเข้ามาใน ระบบราชการได้ การสัมมนากลุ่มผู้นำบริหารการเปลี่ยนแปลงกับฝ่ายบริหารสำนักงาน ก.พ.ร. บูรณาการการทำงานแนวขวางของ 4 หน่วยงานหลัก คือ สำนักงาน ก.พ. สำนักงาน ก.พ.ร. สำนักงบประมาณ สภาพัฒน์ฯ การพัฒนาระบบราชการบางครั้งยังไม่สามารถถ่ายทอดไปสู่ ข้าราชการรุ่นใหม่ได้ (ยังมี Gap) เป็นห่วงอนาคตระบบราชการ คนดีที่คาดหวังไม่สามารถเข้ามาใน ระบบราชการได้ การวัดคนให้วัดที่ผลของงาน เพื่อให้ได้คนที่มีศักยภาพ จะทำให้ ระบบราชการเป็นที่พึ่งของประชาชนได้

บุคลากรและระบบต้องก้าวไปด้วยกัน การสัมมนากลุ่มผู้นำบริหารการเปลี่ยนแปลงกับฝ่ายบริหารสำนักงาน ก.พ.ร. บุคลากรและระบบต้องก้าวไปด้วยกัน รัฐควรให้ความสำคัญกับการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ เมื่อคนมี คุณภาพก็จะส่งผลให้ระบบราชการมีประสิทธิภาพมากขึ้น ระเบียบในการปฏิบัติงานควรมีความยืดหยุ่นตามภารกิจของแต่ละ กระทรวง การเปลี่ยนแปลงจะเกิดขึ้นได้ต้องเป็นสิ่งที่เกิดมาจากใจ

การสรุปบทเรียนจากการสัมมนากลุ่มย่อย ปัจจัยแห่งความสำเร็จ ผู้บริหารให้การสนับสนุน คิดให้ง่ายทำให้ง่าย วิชาการไม่ซับซ้อน แต่นำไปปฏิบัติได้ มีทีมงานที่เข้มแข็ง รู้เนื้องานและกำหนดเป้าหมายที่ชัดเจน ทำงานอย่างมีจุดมุ่งหมาย รู้เนื้องาน ความเชื่อมโยง ไม่ต้องทำใหม่ และต้องลงมือทำจริง มีระบบสื่อสาร สร้างความรู้ความเข้าใจ

หมวด 2 การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ กลยุทธ์การดำเนินการ หมวด 2 การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ เริ่มต้นจากการใช้แผนงบประมาณเป็นตัวตั้งในการดำเนินงาน เนื่องจากเป็นเรื่องที่ปฏิบัติได้จริง (Realistic and Practical) มองภาพรวม และให้คิดว่าเป็นส่วนหนึ่งของงาน (เป็น DNA) เพียงแต่ เพิ่มประสิทธิภาพให้มากขึ้น ทำจากสิ่งที่ปฏิบัติอยู่โดยปรับแต่งให้เข้า กับกรอบของ PMQA มีความชัดเจน คือ การกำหนดยุทธศาสตร์และทิศทางที่ชัดเจน มี แผนที่ยุทธศาสตร์ที่ชัดเจน

หมวด 4 การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ กลยุทธ์การดำเนินการ หมวด 4 การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ มีเลขานุการคณะทำงานเป็นแกนหลักสำคัญในการศึกษา วิเคราะห์ เกณฑ์ และติดตามอย่างต่อเนื่อง รวมทั้งให้เจ้าของ Content มีส่วน ร่วมในการดำเนินการ สร้างระบบการบริหารความเสี่ยง ที่มีความมั่นคงปลอดภัย ความ ถูกต้องของเครือข่ายข้อมูล เชื่อมโยงกับกระบวนการที่กำหนดในหมวด 6 มีแผนการกำกับติดตามการ update ข้อมูล

หมวด 6 การจัดการกระบวนการ กลยุทธ์การดำเนินการ หมวด 6 การจัดการกระบวนการ มีคณะทำงาน PMQA เพียงคณะเดียวไม่แยกเป็นรายหมวด และให้สำนัก/กอง เป็นเจ้าของงานในแต่ละหมวด ยึดหมวด P (ลักษณะสำคัญขององค์กร) เป็นพื้นฐานในการ ดำเนินการ โดยกำหนดกลุ่มผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียให้ ชัดเจน ต้องรู้บริบทขององค์กรตนเอง ประชุมทุกเรื่องที่เกี่ยวข้องกับ PMQA ในครั้งเดียวกัน เพื่อให้อธิบดี เห็นชอบในคราวเดียว