การรับรองงบการเงินของสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน ปีงบประมาณ 2518 – 2552 การรับรองงบการเงินของสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน ปีงบประมาณ 2518 – 2552 ระบบบัญชี เกณฑ์ งบการเงิน ปีงบประมาณ ส่ง สตง. ตรวจสอบ ในปีงบประมาณ สตง. ให้การรับรอง วันเดือนปี ที่รับรอง เงินสด 2518 - 2531 2519 - 2532 2520 - 2533 - เกณฑ์คงค้าง 2532 2539 2542 17 มีนาคม 2542 หรือ 2533 – 2544 (12 ปี) 2547 2549 27 กรกฎาคม 2549 เกณฑ์พึงรับพึงจ่าย 2545 – 2547 (3 ปี) 2548 2550 23 สิงหาคม 2550 (Accrual Basic) 2548 – 2549 (2 ปี) 2551 22 กันยายน 2551 25 กันยายน 2551 2552 25 สิงหาคม 2552 24 เมษายน 2552 มีแผนเข้าตรวจในปี 2553 ภายใน 60 วัน นับจาก สิ้นปีงบประมาณ
ระบบบัญชีกองทุนการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ต้องทำตามนโยบายบัญชีภาครัฐที่กระทรวงการคลังกำหนด ทำตามนโยบายและขอบเขตของระบบบัญชีกองทุนฯ ที่กรมบัญชีกลางให้ถือปฏิบัติ ดังนี้ 2.1 ใช้ระบบบัญชีคู่ เกณฑ์คงค้าง (Accrual Basis) 2.2 แยกบัญชีกองทุนฯ ออกเป็นอีกชุดหนึ่งจากระบบ บัญชีเงินงบประมาณของ ส.ป.ก. 2.3 ใช้หลักกระจายอำนาจ (Decentralized)
2.4 หลักการบัญชี รายการบัญชี ทั้งหมดมี 5 หมวดได้แก่ 2.4 หลักการบัญชี รายการบัญชี ทั้งหมดมี 5 หมวดได้แก่ ทรัพย์สิน หนี้สิน ทุน รายได้ และค่าใช้จ่าย สมการบัญชี ทรัพย์สิน = หนี้สิน + ทุน รายได้สูงต่ำกว่าค่าใช้จ่าย = รายได้ - ค่าใช้จ่าย ทรัพย์สิน หนี้สินและทุน - เงินสด/เงินฝากธนาคาร/เงินฝากคลัง 500 หนี้สิน - ลูกหนี้ -เจ้าหนี้เกษตรกร 80 - ลูกหนี้เงินกู้ 2,700 -เจ้าหนี้พันธบัตร 25 - ลูกหนี้เช่าซื้อที่ดิน 1,600 4,300 -ดอกเบี้ยพันธบัตรค้างจ่าย 15 120 - ลูกหนี้เงินยืม 150 ทุน ที่ดิน 6,850 -กองทุนการปฏิรูปที่ดินฯ 10,360 - สิทธิประโยชน์ในที่ดิน 70 -รายได้สูง(ต่ำ)กว่าค่าใช้จ่ายสะสม 1,520 11,880 - อาคารและสิ่งก่อสร้าง 30 (รายได้–ค่าใช้จ่าย = 3,520-2,000 = 1,520) - ครุภัณฑ์และอุปกรณ์ 100 รวม 12,000
หลักการบัญชี ที่กำหนดไว้ในระบบบัญชีกองทุนฯ หลักการบัญชี ที่กำหนดไว้ในระบบบัญชีกองทุนฯ 2.4.1 หลักการบัญชีเกี่ยวกับทรัพย์สิน (1) ที่ดิน ควบคุมที่ดินทุกประเภทที่ ส.ป.ก. ได้มาเพื่อการปฏิรูปฯ (ก) “ที่ดิน” หมายถึง ยอดรวมมูลค่าที่ดินเอกชน เช่น ที่ดินจัดซื้อ ที่เวนคืน ที่บริจาค และที่ดินพระราชทาน รวมกัน ที่ดินเอกชน = มูลค่าที่ดินในราคาทุนที่ซื้อมา แต่กรณี ที่ดินบริจาค = ราคาประเมินกรมที่ดินในปีที่รับบริจาค (ข) “สิทธิประโยชน์ในที่ดิน” หมายถึง ที่ดินของรัฐ เช่น ที่ราชพัสดุ ที่สาธารณสมบัติของแผ่นดิน ที่ป่าสงวนฯ ที่ดินของรัฐ = มูลค่าที่ดินที่จัดให้เข้าทำประโยชน์แล้ว
หลักการบัญชี ที่กำหนดไว้ในระบบบัญชีกองทุนฯ หลักการบัญชี ที่กำหนดไว้ในระบบบัญชีกองทุนฯ (2) อาคารและสิ่งก่อสร้าง ครุภัณฑ์ จะรับรู้เฉพาะทรัพย์สินที่ซื้อ หรือได้มา / หน่วย / ชุด มีมูลค่าขั้นต่ำตั้งแต่ 5,000 บาทขึ้นไป (3) ลูกหนี้ (ก) การเช่าซื้อที่ดิน บัญชี “ลูกหนี้เช่าซื้อที่ดิน” = มูลค่าที่ดินที่ซื้อมา การรับรู้ “ดอกเบี้ยเช่าซื้อ” ให้เป็นลักษณะเดียวกับการรับรู้ ดอกเบี้ยจากการให้กู้ยืมเงิน (ข) การให้สินเชื่อ แสดงไว้ในบัญชี “ลูกหนี้เงินกู้” และรับรู้ “ดอกเบี้ยเงินกู้” ให้ถือเป็นรายได้
หลักการบัญชี ที่กำหนดไว้ในระบบบัญชีกองทุนฯ หลักการบัญชี ที่กำหนดไว้ในระบบบัญชีกองทุนฯ 2.4.2 หลักการบัญชีหนี้สิน เจ้าหนี้ หรือค่าใช้จ่ายค้างจ่าย หมายถึง หนี้สินที่เกิดจากภาระผูกพัน ตามกฎหมาย/สัญญา หรือจากการรับสินค้า/บริการ แล้วยังไม่ได้ชำระเงิน 2.4.3 หลักการบัญชีทุน ทุน หมายถึง “กองทุนการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม” 2.4.4 หลักการบัญชีรายได้ รายได้ หมายถึง รายได้ทุกประเภทที่กองทุนได้รับ 2.4.5 หลักการบัญชีค่าใช้จ่าย ค่าใช้จ่าย หมายถึง ค่าใช้จ่ายในลักษณะจ่ายขาด ที่ไม่ต้องใช้คืนกองทุน