อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีกับปริมาณสารสัมพันธ์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โดย เสาวนีย์ หีตลำพูน คศ.3 โรงเรียนปะทิววิทยา จังหวัดชุมพร
Advertisements

สมดุลเคมี.
ปฏิกิริยาเคมี (Chemical Reaction)
การกำหนดตารางการผลิตหลัก (Master Production Scheduling)
กรด-เบส (acid-base) คริษฐา เสมานิตย์.
สารชีวโมเลกุล คริษฐา เสมานิตย์.
เทอร์โมเคมี (Thermochemistry).
3. ของเหลว 3.1 สมบัติทั่วไปของของเหลว ความดันไอ จุดหลอมเหลว และ
dU = TdS - PdV ... (1) dH = TdS + VdP ...(2)
Enthalpy of Formation DHof = การเปลี่ยนแปลงเอนทาลปีของปฏิกิริยา
2NO 2 = N 2 O 4 ความเข้มข้น เวลา N2O4N2O4 NO ความเข้มข้น เวลา N2O4N2O4 NO ความเข้มข้น เวลา N2O4N2O4 NO ทดลองเพื่ออะไร.
สมดุลเคมีและสมดุลไอออน
วิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
นางสาวสุวรรณี อินทรีเนตร เลขที่ 26
ความสัมพันธ์ระหว่าง DG กับ อุณหภูมิ
หินแปร (Metamorphic rocks)
Laboratory in Physical Chemistry II
การทดลองและการเขียนรายงานผลการทดลองทางวิทยาศาสตร์
Experiment 4 The Reaction Rate of Ethyl Acetate and Hydroxyl ion
Measurement of Gases KM 57.
C10H8 + 12O2  10CO2 + 4H2O The Types of Chemical Reaction
การทดลองที่ 5 Colligative property
การทดลองที่ 9 การศึกษาจลนพลศาสตร์ของปฏิกิริยาสำหรับการวิเคราะห์ระดับแอลกอฮอล์ จากลมหายใจ (A Kinetic Study of “Breathalyzer” Reaction )
ชนิดของปฏิกิริยาเคมี
ปัจจัยทีมีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 1 แหล่งพลังงานไฟฟ้า.
บทที่ 1 แหล่งพลังงานไฟฟ้า.
การแปลงลาปลาซ (Laplace transform) เป็นวิธีการหนึ่งที่สามารถใช้หาผลเฉลยของปัญหาค่าตั้งต้นของสมการเชิงอนุพันธ์ “เราจะใช้การแปลงลาปลาซ แปลงจากปัญหาค่าตั้งต้นของสมการเชิงอนุพันธ์
สมดุลเคมีและสมดุลไอออน
ของแข็ง ของเหลว แก๊ส ว30231 ปริมาณสัมพันธ์ สถานะของสาร และเคมีไฟฟ้า
สารละลายและค่าการละลาย (Solution and Solubility)
รูปแบบการเขียนรายงานผลการทดลอง
8.2.1 ไอออนในสารละลายกรด สารละลายกรดทุกชนิดมีไอออนที่เหมือนกันคือ H3O+
การวางแผนการผลิตรวม ความหมาย วัตถุประสงค์และขั้นตอนการวางแผนการผลิตรวม
(Internal energy of system)
ดังนั้นในสารละลายมี H3O+ = 5x10-5 mol
คัมภีร์ โพธิพงษ์ และ พัชรี คำธิตา
อินเวอร์สของความสัมพันธ์
การเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับได้ (Reversible change)
วิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน รหัสวิชา ค ครูผู้สอน นางสาวสมใจ จันทรงกรด
เรื่อง กรด-เบส ในชีวิตประจำวัน
เรื่อง กรด-เบส ในชีวิตประจำวัน
เอนไซม์ ( Enzyme ) เอนไซม์ คือ ตัวเร่งปฏิกิริยาทางชีวภาพ เป็นสารประกอบพวกโปรตีน เอนไซม์จะเร่งเฉพาะชนิดของปฏิกิริยา และชนิดของสารที่เข้าทำปฏิกิริยา เอนไซม์บางชนิด.
สมดุลเคมี Chemical Equilibrium
การวิเคราะห์คุณภาพน้ำ : การวิเคราะห์หาปริมาณออกซิเจนที่ละลายในน้ำ
คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
สนามไฟฟ้าและสนามแม่เหล็ก
ปริมาณสัมพันธ์ Stoichiometry : Chemical Calculation
กราฟพฤติกรรมภายใต้ช่วงเวลา (BOT)
ความร้อน สมบัติของแก๊สและทฤษฎีจลน์ หน้า 1
สารเคมีในบ้านเป็นกรดหรือเบส
พลังงานกับการเกิดปฏิกิริยา โรงเรียนสากเหล็กวิทยา
นางสาวอารมณ์ อินทร์ภูเมศร์
นางสาวอารมณ์ อินทร์ภูเมศร์
1. แนวความคิดในการศึกษา
ACID-BASE เราไปกันเลย Jutimat Rattanapan.
ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
เคมี ม.5 ว30223 อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี ครูธนพล ถัดทะพงษ์
วงรี ( Ellipse).
การจำแนกประเภทของสาร
¤ÃÙàÍÕèÂÁÅÐÍÍ ¸¹Ñ­ªÑ นางเอี่ยมละออ ธนัญชัย ครูเอี่ยมละออ ธนัญชัย
หน่วยที่ 6 อุณหพลศาสตร์และการถ่ายเทความร้อน
ค่าคงที่สมดุล การเขียนความสัมพันธ์ของค่า K กับความเข้มข้นของสาร
กิจกรรมพื้นฐานทางเคมี
การทดลองที่ 2 ปฏิบัติการเคมีทั่วไป I อัตราการเกิดปฏิกิริยา
ความชันและสมการเส้นตรง
สมดุลเคมีและสมดุลไอออน
สารและสมบัติของสาร วิทยาศาสตร์ ม.1 โดย นางภัทรา คำสีทา
การคำนวณหาค่าคงที่สมดุล
มลภาวะ (pollution).
ใบสำเนางานนำเสนอ:

อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีกับปริมาณสารสัมพันธ์ อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี หมายถึง ปริมาณของผลิตภัณฑ์ที่เกิดขึ้นใน 1 หน่วยเวลา หรือปริมาณของสารตั้งต้นที่ลดลงใน 1 หน่วยเวลา อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี = ปริมาณของผลิตภัณฑ์ที่เกิดขึ้น = ปริมาณของสารตั้งต้นที่ลดลง เวลา เวลา

วิธีวัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี ขึ้นอยู่กับความสะดวกและความเหมาะสม เช่น ถ้าในระบบมีแก๊ส วัดจากปริมาตรหรือความดันที่เปลี่ยนไป ถ้าในระบบมีสารละลาย วัดจากความเข้มข้นที่เปลี่ยนไป ถ้าในระบบมีของแข็ง วัดจากปริมาณหรือตะกอนที่เปลี่ยนไป ถ้าในระบบมีสี วัดจากสีที่เปลี่ยนไป ถ้าในระบบมีกรดหรือเบส วัดจาก pH ที่เปลี่ยนไป ฯลฯ

อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีกับอัตราการเปลี่ยนแปลงของสารในเทอมคณิตศาสตร์ ปฏิกิริยา aA + bB cC + dD เขียนสมการแสดงอัตราการเกิดปฏิกิริยาได้ดังนี้ R = – = – = + = + หรือ R = RA = RB = RC = RD หรือ อัตราการเกิดปฏิกิริยา = (อัตราการลดลงของ A) = (อัตราการลดลงของ B) = (อัตราการเพิ่มขึ้นของ C) = (อัตราการเพิ่มขึ้นของ D)

อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีในเทอมของกราฟ กราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่าง อัตราการเกิดปฏิกิริยากับเวลา กราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างความเข้มข้น ของสารตั้งต้นหรือผลิตภัณฑ์กับเวลา

กราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างอัตราการเกิดปฏิกิริยากับเวลา เช่น ปฏิกิริยา A  B

กราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างความเข้มข้นของสารตั้งต้นหรือผลิตภัณฑ์กับเวลา เช่น ปฏิกิริยา A  B