อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีกับปริมาณสารสัมพันธ์ อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี หมายถึง ปริมาณของผลิตภัณฑ์ที่เกิดขึ้นใน 1 หน่วยเวลา หรือปริมาณของสารตั้งต้นที่ลดลงใน 1 หน่วยเวลา อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี = ปริมาณของผลิตภัณฑ์ที่เกิดขึ้น = ปริมาณของสารตั้งต้นที่ลดลง เวลา เวลา
วิธีวัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี ขึ้นอยู่กับความสะดวกและความเหมาะสม เช่น ถ้าในระบบมีแก๊ส วัดจากปริมาตรหรือความดันที่เปลี่ยนไป ถ้าในระบบมีสารละลาย วัดจากความเข้มข้นที่เปลี่ยนไป ถ้าในระบบมีของแข็ง วัดจากปริมาณหรือตะกอนที่เปลี่ยนไป ถ้าในระบบมีสี วัดจากสีที่เปลี่ยนไป ถ้าในระบบมีกรดหรือเบส วัดจาก pH ที่เปลี่ยนไป ฯลฯ
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีกับอัตราการเปลี่ยนแปลงของสารในเทอมคณิตศาสตร์ ปฏิกิริยา aA + bB cC + dD เขียนสมการแสดงอัตราการเกิดปฏิกิริยาได้ดังนี้ R = – = – = + = + หรือ R = RA = RB = RC = RD หรือ อัตราการเกิดปฏิกิริยา = (อัตราการลดลงของ A) = (อัตราการลดลงของ B) = (อัตราการเพิ่มขึ้นของ C) = (อัตราการเพิ่มขึ้นของ D)
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีในเทอมของกราฟ กราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่าง อัตราการเกิดปฏิกิริยากับเวลา กราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างความเข้มข้น ของสารตั้งต้นหรือผลิตภัณฑ์กับเวลา
กราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างอัตราการเกิดปฏิกิริยากับเวลา เช่น ปฏิกิริยา A B
กราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างความเข้มข้นของสารตั้งต้นหรือผลิตภัณฑ์กับเวลา เช่น ปฏิกิริยา A B