รายงาน เรื่อง -ส่วนประกอบที่สำคัญของ microsoft excel -การพิมพ์ข้อมูลและการสร้างสูตรเบื้องต้น จัดทำโดย.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เรื่อง ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
Advertisements

แบบทดสอบวิชาคอมพิวเตอร์
การใช้งานโปรแกรมสำเร็จรูป
ปฏิบัติการที่ 4 การใช้โปรแกรมประมวลผลคำ
ส่วนประกอบโปรแกรม MS-WORD 97
เครื่องคิดเลข การใช้ SHARP EL -506 W
การใช้ Microsoft Word 2007 / 2010 เพื่อการจัดการงานเอกสารเชิงวิชาการ
Education Research Complete
การปรับเปลี่ยนประมาณการใช้ยา และการคืนยา (ปรับ FM3)
Microsoft Word 2002 พุธทอง กาบบัวลอย.
การประยุกต์ใช้โปรแกรม MS-Excel
การใช้งานโปรแกรม Excel เบื้องต้น
ตัวอย่างโปรแกรม สร้างแถบเครื่องมืออย่างง่าย ประกอบด้วย
โดย ศศิธร อารยะพูนพงศ์ สำนักคอมพิวเตอร์
MS Excel Excel เป็นโปรแกรมประเภท สเปรยชีต (Speadsheet) หรือโปรแกรมตาราง งาน ซึ่งจะเก็บข้อมูลต่าง ๆ ลงบน แผ่นตารางงาน คล้ายกับการเขียน ข้อมูลลงไปในสมุดที่มีการตีช่องตาราง.
Microsoft Excel 2007.
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อชีวิต รหัสวิชา
Microsoft Office Excel
Microsoft Word Part I Government Savings Bank Computer Trainging Í
Project Management.
คณิตศาสตร์และสถิติธุรกิจ
By Mr.Piched Tanawattana ส่วนประกอบของ Excel แถบชื่อเรื่อง Title bar ปุ่มควบคุม Control Button เวิร์กชีต Worksheet แถบสถานะ Status bar แถบเมนู Menu.
Microsoft Word XP โดย พิสมัย น้ำจันทร์.
ระบบอัตโนมัติและการพิมพ์
การสร้างตาราง Click mouse ที่ปุ่ม จะปรากฏช่องสี่เหลี่ยมแสดง
จดหมายเวียน (Mail Merge)
ฐานข้อมูลราชกิจจานุเบกษา
การพิมพ์งานมีอยู่ด้วยกัน 2 วิธี
การใช้งาน Microsoft Excel
การใช้งานเบื้องต้นของเครื่องคิดเลขทางการเงิน
สังเกตไฟล์เพื่อคลิก และดาวน์โหลด
ชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น
ภาควิชา เทคโนโลยีการศึกษา
ตัวแปร (Variable) คือ ชื่อที่ตั้งขึ้นเพื่อเก็บข้อมูลในหน่วยความจำ สามารถเก็บข้อมูลชนิดใดก็ ได้ ลักษณะที่สำคัญ ค่าที่จัดเก็บ เมื่อปิดโปรแกรมข้อมูลจะหายไป.
โรงเรียนวชิรธรรมสาธิต
รายงาน เรื่อง ซอฟต์แวร์ตารางทำงาน
ด. ญ. พัชชา กาญจนสำราญวงศ์ ชั้น ม. 2/3 เลขที่ 5 อ. ภานุมาศ ชาติทองแดง.
Microsoft Excel เป็นโปรแกรมประเภท สเปรดชีต (spreadsheet) หรือตารางคำนวณอิเล็กทรอนิกส์ที่ใช้เก็บบันทึกข้อมูลในลักษณะต่างๆ ซึ่งส่วนใหญ่มักเก็บข้อมูลประเภทการคำนวณ.
อาจารย์ ภานุมาศ ชาติทองแดง โรงเรียนวชิรธรรมสาธิต
รายงาน เรื่อง พื้นฐาน Microsoft Excel จัดทำโดย
เรื่อง การซ่อน - แสดงคอลัมน์ / แถว จัดทำโดย ด. ช. พงศ์วริศ ชาติชะนา ชั้น ม. 2/5 เลขที่ 37 เสนอ อาจารย์ ภานุมาศ ชาติทองแดง โรงเรียนวชิรธรรมสาธิต.
พื้นฐานของ Microsoft Office Excel โดย
เรื่อง การนำเสนอข้อมูลด้วยกราฟ
รายงาน เรื่อง การป้อนข้อมูลและแก้ไขข้อมูล โรงเรียนวชิรธรรมสาธิต
เรื่อง การคำนวณข้ามชีท โรงเรียนวชิรธรรมสาธิต
เรื่อง คีย์ลัดที่ควรทราบ จัดทำโดย ด. ช. ธีธัช สุวัณณวะยัคฆ์ ชั้น ม.2/4 เลขที่ 1 เสนอ อ. ภานุมาศ ชาติทองแดง โรงเรียนวชิรธรรมสาธิต.
โรงเรียนวชิรธรรมสาธิต
โรงเรียนวชิรธรรมสาธิต
รายงาน เรื่อง จัดรูปแบบข้อมูล จัดทำโดย ด. ญ. ธิกานดา วัลยาภรณ์ ชั้นม.2/1 เลขที่ 19 เสนอ อาจารย์ ภานุมาศ ชาติมองแดง โรงเรียนวชิรธรรมสาธิต.
การแปลงข้อมูลใน Excel เป็นฐานข้อมูลใน Access
การ Generate ตารางข้อมูลให้เป็นแผนที่โดยใช้ ArcView
ณัฏฐวุฒิ เอี่ยมอินทร์
การรับรองรายงานการประชุม ผ่านเว็บไซต์จังหวัดลพบุรี
วิธีการใช้แบบประเมินผลสมรรถนะแบบ Hybrid Scale
การใช้ Word เพื่อการคำนวณ
รู้จักกับTimeline, Layer และ Scene รู้จักกับTimeline, Layer และ Scene
การใช้งานโปรแกรม Microsoft Power Point
บทที่ 3 การทำงานกับฟอร์ม (Form)
บทที่ 3 การทำงานกับฟอร์ม (Form)
การใช้งานโปรแกรม Microsoft Excel ชุดที่ 3 การสร้างกราฟ
การตั้งค่า Mouse จัดทำโดย นายนรินทร์ เรือนคำ เลขที่ 13
รหัสวิชา บทที่ 4 การจัดรูปแบบเอกสาร.
รู้จักกับ Microsoft Access 2003
ซอฟต์แวร์ที่น่าสนใจ.
การใช้สูตรคำนวณ ในโปรแกรม Microsoft Excel 2007
ภาพนี้ชื่อว่าอะไร ? ก. แถบเมนูบาร์
การสร้างตารางคำนวณด้วย
หน่วยรับเข้า ทำหน้าที่รับข้อมูลจากผู้ใช้เข้าสู่หน่วยความจำหลัก ปัจจุบันมีสื่อต่าง ๆ ให้เลือกใช้ได้มากมาย แบ่งเป็นประเภทต่าง ๆ 1.แป้นพิมพ์ (Keyboard) 2.เมาส์
ความรู้เบื้องต้น เกี่ยวกับโปรแกรม
การใช้งานโปรแกรม Excel เบื้องต้น
ใบสำเนางานนำเสนอ:

รายงาน เรื่อง -ส่วนประกอบที่สำคัญของ microsoft excel -การพิมพ์ข้อมูลและการสร้างสูตรเบื้องต้น จัดทำโดย ด.ช. ชวณัฏฐ์ เรืองต่อวงศ์ ชั้น ม.2/5 เลขที่ 18 เสนอ อ. ภานุมาศ ชาติทองแดง โรงเรียนวชิรธรรมสาธิต

ส่วนประกอบที่สำคัญของโปรแกรม Microsoft Excel หน้าจอหลัก แบ่งเป็น 3 ส่วนคือ ส่วนที่1 ส่วนที่2 ส่วนที่3

ส่วนที่ 1 ประกอบด้วย 1 2 3 4 1. เมนูหลักของคำสั่งต่างๆ ทั้งหมดที่ใช้ในโปรแกรม Excel สามารถใช้ได้จากการคลิกที่ชื่อเมนู เช่น File หลังจากนั้นจะปรากฏเมนูย่อยมาให้เลือกคำสั่งที่ต้องการ 2 เป็นส่วนที่เป็นคำสั่งต่างๆ ที่มักใช้บ่อยๆ โดยมีลักษณะเป็นปุ่มรูปต่างๆ วิธีการสั่งคำสั่งต่างๆ เหล่านี้สามารถทำได้โดยการนำ Mouse มาคลิก 3. ที่จัดการกับตัวอักษรหรือข้อความ เราสามารถกำหนดชนิดตัวอักษร หรือขนาดตัวอักษรที่จะ พิมพ์ ลักษณะของตัวอักษร และตำแหน่งของตัวอักษรได้จากส่วนนี้ 4. เป็นส่วนที่ใช้สำหรับการพิมพ์สูตรหรือข้อความที่จะใส่ลงใน Cell

ส่วนที่ 2 คือส่วนที่ใช้สำหรับทำงานเช่นการพิมพ์งาน การสร้างกราฟต่างๆ รายละเอียดภายใน Worksheet 1. คอลัมน์ Worksheet แต่ละแผ่นจะถูกแบ่งออกเป็นช่องๆ ตามแนวตั้งเรียกว่าคอลัมน์ โดยจะมี ทั้งหมด 256 คอลัมน์เริ่มตั้งแต่ A-Z, AA-AZ, BA-BZ,… , IA-IV 2. แถว คือการแบ่ง Worksheet ออกตามแนวนอนเป็นช่องๆ เรียกว่าแถวจำนวนทั้งหมด 65536 แถว โดยเริ่มตั้งแต่แถวที่ 1 ถึง 65536 แถว 3. Cell คือช่องแต่ละช่องที่เกิดขึ้นจากการแบ่ง Worksheet ออกเป็นแถวและคอลัมน์ การ อ้างอิง Cell จะอ้างอิงโดยใช้ชื่อคอลัมน์และตามด้วยแถว เช่น C2 จะหมายถึง Cell ที่อยู่ ที่คอลัมน์ C แถวที่ 2 เป็นต้น 4. Cell Pointer คือส่วนที่ใช้แสดงตำแหน่งของ Cell ที่กำลังทำงานอยู่ในขณะนั้น (ข้อมูลต่างๆ ที่พิมพ์ จะปรากฏใน Cell ที่ Cell Pointer อยู่) Cell Pointer จะมีลักษณะดังรูป

ส่วนที่ 3 คือส่วนที่แสดง Worksheet ที่กำลังทำงานอยู่หรือใช้เลือก Worksheet ที่ต้องการและ สถานะของการทำงานในขณะนั้น การพิมพ์ข้อมูลและการสร้างสูตรเบื้องต้น เราสามารถพิมพ์ข้อมูลที่ต้องการได้โดยทำตามขั้นตอนดังนี้ 1. เลื่อน Cell Pointer ไปยัง Cell ที่ต้องการ 2. พิมพ์ข้อความที่ต้องการ 3. กดปุ่ม Enter หรือลูกศรใดๆ ตัวอย่าง จงพิมพ์ข้อความต่อไปนี้

คุณสมบัติหนึ่งที่สำคัญของ Excel คือการสร้างสูตรเพื่อใช้สำหรับการคำนวณ การสร้าง สูตรนั้นสามารถทำได้ตามขั้นตอนต่อไปนี้ 1. เลื่อน Cell Pointer ไปยัง Cell ที่ต้องการใส่สูตร 2. พิมพ์เครื่องหมาย = แล้วตามด้วยสูตรที่ต้องการ 3. กดปุ่ม Enter ตัวอย่าง จงพิมพ์ =500 + 400 ลงในตำแหน่ง C5 สังเกตว่าหลังจากกดปุ่ม Enter แล้ว ข้อมูลที่แสดงในตำแหน่ง C5 จะเป็นผลลัพธ์ที่ได้จากการ คำนวณของสูตร

นอกจากการสร้างสูตรที่ระบุจากตัวเลขโดยตรงแล้ว เรายังสามารถสร้างสูตรที่อ้างอิงจาก ค่าตัวเลขที่อยู่ใน Cell อื่นๆ ได้อีกด้วย ดังตัวอย่าง ตัวอย่าง จงพิมพ์ข้อมูลต่อไปนี้ สังเกตผลลัพธ์ที่ช่อง C5 ว่าจะเป็น 950 ซึ่งเกิดจากการนำเอา 550 + 400

ข้อดีของการใช้สูตรภายใน Excel คือ เมื่อค่าที่อยู่ภายใน Cell ที่อ้างอิงภายในสูตรมีการ เปลี่ยนแปลง ผลลัพธ์ที่อยู่ในช่องที่ใส่สูตรจะเปลี่ยนให้ถูกต้องตามไปด้วย ตัวอย่าง ให้ทดลองเปลี่ยนข้อมูลในช่อง C3 ให้เป็น 620 จะได้ผลลัพธ์ดังรูป

อ้างอิงจาก http://www.bu.ac.th/knowledgecenter/content/excelxp.pdf -ศูนย์คอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ