เรื่อง การบอกตำแหน่งของวัตถุท้องฟ้า จัดทำโดย กลุ่ม 5

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การเขียนหุ่นนิ่งรวม.
Advertisements

รู ป ว ง ก ล ม พัฒนาโดย นายวรวุธ อัครกตัญญู
กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
บทที่ 3 การเคลื่อนที่.
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕
การศึกษาเกี่ยวกับแรง ซึ่งเป็นสาเหตุการเคลื่อนที่ของวัตถุ
ทัศนศาสตร์(Optics) วิชาศึกษาธรรมชาติแสงและการมองเห็น.
กลุ่มดาวในนิทานของไทย
แม่ครู ประทุมทิพย์ เกื้อหนุน
ดวงอาทิตย์ขึ้นทางทิศตะวันออก เวลา น. ไปตกยังทิศตะวันตก เวลา 18
แผ่นแผนที่ (แผ่นล่าง)
หันหน้าไปทางทิศเหนือ
เส้นสุริยวิถีเอียงทำมุมกับเส้นศูนย์สูตรฟ้า ทำให้เรามองเห็นดวงอาทิตย์ขึ้น - ตก ค่อนไปทางเหนือหรือใต้ในรอบปี
สเฟียโรมิเตอร์(Spherometer)
ความเท่ากันทุกประการ
ทีมสำรวจอวกาศ ทีมสำรวจอวกาศ: ภารกิจ! แผนการจัดการเรียนรู้ 1: ภารกิจ 1.
บทที่ 6 การเขียนภาพสามมิติ ภาพอ็อบลีก
การเคลื่อนที่ของแสงผ่านตัวกลางที่ต่างกัน
ตัวเลขไทย.
จำนวนชั่วโมงในการบรรยาย 1 ชั่วโมง
Application of Graph Theory
ระบบอนุภาค.
ตรีโกณมิติ.
การจัดแสงสำหรับงานโทรทัศน์
นวัตกรรมส่งเสริมสุขภาพ
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์
แผนการสอน หลักสูตรวิชาชีพระยะสั้น
ฟิสิกส์ เรื่อง แสง จัดทำโดย นาย ปณิธาน กาญจนถวัลย์ ม.4/3 เลขที่ 12
เทห์วัตถุในระบบสุริยะ
การอ่านแผนที่ดาว นักเรียนเคยอ่านแผนที่ดาวหรือไม่ การอ่านแผนที่ดาวแตกต่างจากการอ่านแผนที่อื่น ๆ เพราะจะต้องนอนหงายหรือเงยหน้าอ่าน โดยยกแผนที่ดาวขึ้นสูงเหนือศีรษะ.
งานนำเสนอ เรื่อง กลุ่มดาวฤกษ์.
รายงาน เรื่อง สีและอุณหภูมิของดาวฤกษ์
ปรากฏการณ์ข้างขึ้น-ข้างแรม (Lunar's Phases)
รายงาน เรื่อง โลกดาวเคราะห์บ้านของเรา (ตำแหน่งบนโลก) เสนอ
ประกาศคณะกรรมการควบคุมมลพิษ เรื่องแบบบันทึกผลการตรวจวัดค่าทึบแสงและแบบสรุปผลการตรวจวัดค่าทึบแสงของเขม่าควันจากปล่องปล่อยทิ้งอากาศเสียของเตาเผามูลฝอยรวมทั้งลักษณะและหน่วยวัดค่าความทึบแสงของแผนภูมิเขม่าควันของริงเกิลมานน์
เ ฮี ย น ฟิ สิ ก ส์ โ ต ย ค รู โ อ๊ บ
คลื่นหรรษา ตอนที่ 1 คลื่นหรรษา ตอนที่ 1 โดย อ.ดิลก อุทะนุต.
กาแล็กซีและเอกภพ.
หลักการโปรแกรมเบื้องต้น
การเลือกและปรับรูปทรงวัตถุ การเลือกและปรับรูปทรงวัตถุ
การหาพิกัดภูมิศาสตร์ โครงการส่งเสริมและลดต้นทุนการผลิตข้าว
นายสมโพชน์ เหลื่อมล้ำ
ภาพฉายหลายมุมมอง (Multiview Projection )
ภาพจากการสะท้อนแสงของวัตถุ
ครู สุนิสา เมืองมาน้อย
กิจกรรม 4.7 สีของรุ้งเกิดขึ้นได้อย่างไร
กล้องโทรทรรศน์.
การสะท้อนแสงบนกระจกเงา
ยูเรนัส (Uranus).
โดยครูศกุนต์ ก้อนแก้ว
สาระการเรียนรู้ที่ ๒ การเชื่อมประพจน์
ดาวพุธ (Mercury).
ดาวศุกร์ (Venus).
การหักเหของแสงในตัวกลางต่างชนิดกัน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 8 เอกภพและโลก( 3)
ดาวเนปจูน (Neptune).
"" การพิจารณาองค์ประกอบในการถ่ายรูป "" หลักพื้นฐานในการพิจารณาองค์ประกอบในการออกแบบก่อน องค์ประกอบในการออกแบบ.
ดาวเสาร์ (Saturn).
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โดยครูศรีไพร แตงอ่อน วิทยาศาสตร์พื้นฐาน
เรื่อง ระบบสุริยะจักรวาล จัดทำโดย ด. ญ
ดาวเคราะห์น้อย (Asteroids)
ชื่อเรื่อง ดาวเคราะห์
เรื่อง ระบบสุริยะ จัดทำโดย ด. ช. ณัฐวัตร ฐาปนสุนทร เลขที่ 12 ชั้น ม
แบบทดสอบชุดที่ 1 คำชี้แจง จงเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคำตอบเดียวทำลงในกระดาษคำตอบที่กำหนดให้
โรงเรียนวังไกลกังวล หัวหิน
โรงเรียน เซนต์หลุยส์ศึกษา
ระบบสุริยะจักรวาล จัดทำโดย ด.ช.นครินทร์ ขันอ้าย ชั้น ม.1/11 เลขที่ 4
ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ส 41102
ระบบสุริยะ จักรวาล.
โลกและสัณฐานของโลก.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เรื่อง การบอกตำแหน่งของวัตถุท้องฟ้า จัดทำโดย กลุ่ม 5 รายงาน วิชา วิทยาศาสตร์ เรื่อง การบอกตำแหน่งของวัตถุท้องฟ้า จัดทำโดย กลุ่ม 5 นาย จำรัส จูพงเศรษฐ ม.6/4 เลขที่ 2 นาย พรพงศ์ บุตรน้อย ม.6/4 เลขที่ 5 นาย สหยศ นวธงไชย ม.6/4 เลขที่ 6

การบอกตำแหน่งของวัตถุท้องฟ้า

การบอกตำแหน่งของวัตถุท้องฟ้า คำว่า " วัตถุท้องฟ้า “ ในวิชาดาราศาสตร์หมายถึงทุกสิ่งทุกอย่างที่อยู่บนท้องฟ้าซึ่งเราสามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่าและ มองไม่เห็นด้วยตาเปล่า เช่น ดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ ดวงดาวต่าง ๆ ทั้งดาวฤกษ์ ดาวเคราะห์ รวมทั้งดาวเทียมยานอวกาศและหอวิจัย ลอยฟ้า เป็นต้น ในทางดาราศาสตร์การบอกตำแหน่งของวัตถุท้องฟ้าสามารถบอกได้หลายระบบแต่ระบบที่นิยมใช้กัน มากคือ ระบบเส้นขอบฟ้า

(The Horizontal System)ซึ่งเป็นระบบที่ยึดผู้สังเกตเป็นหลักโดยมีรายละเอียด ดังนี้ รูป 9 ทรงกลมท้องฟ้า

1. ทรงกลมท้องฟ้า(Celestial Sphere) มีลักษณะคล้ายทรงกลมกลวงในขณะที่นักเรียนยืนอยู่ในที่โล่ง ๆ แล้วแหงนมอง ดูท้องฟ้าหันไปรอบๆตัวจะเห็นท้องฟ้าเป็นรูปครึ่งวงกลมเหมือนฝาชีครอบตัวเราอยู่โดยมีตัวเราเป็นจุดศูนย์กลางของทรงกลม 2. เส้นขอบฟ้า(Horizon) หมายถึง เส้นที่ลากตามแนวขอบของครึ่งวงกลม 3. จุดเหนือศีรษะ(Zenith) หมายถึง จุดที่อยู่บนทรงกลมท้องฟ้าเหนือศีรษะของผู้สังเกต 4. เส้นดิ่ง(Verticalline) หมายถึง เส้นที่ลากจากจุดเหนือศีรษะไปตามทรงกลมท้องฟ้าไปจนตัดและตั้งฉากกับเส้นขอบฟ้า เส้นขอบฟ้าและจุดเหนือศีรษะถูกกำหนดขึ้นโดยอาศัยผู้สังเกตเป็นหลัก ดังนั้นเส้นขอบฟ้าและจุดเหนือศีรษะอาจจะเปลี่ยนแปลง ไปเพราะผู้สังเกตเปลี่ยนตำแหน่งไปจากตำแหน่งเดิมมาก ๆ เช่น ผู้สังเกตที่ กรุงเทพมหานคร กับผู้สังเกตที่เชียงใหม่ เป็นต้น แต่ถ้าผู้สังเกต เปลี่ยนตำแหน่งไปเล็กน้อย จุดเหนือศีรษะและเส้นขอบฟ้าก็ยังคงเดิมอยู่ ในการบอกตำแหน่งของวัตถุท้องฟ้าโดยใช้ระบบเส้นขอบฟ้าเป็นหลักนั้นบอกเป็นค่ามุมเงยและมุมอาซีมุท ดังนี้

รูป 11 การวัดมุมเงยของวัตถุท้องฟ้า 1. มุมเงย(Angleofelevation)คือ มุมที่ใช้บอกความสูงของวัตถุท้องฟ้าเป็นมุมที่เกิดจากเส้น ตรงที่ลากจากผู้สังเกตไปยัง วัตถุนั้นบนท้องฟ้ากับเส้นตรงที่ลากจากผู้สังเกตไปยังจุดตัดระหว่างเส้นขอบฟ้า กับเส้นดิ่งที่ลากผ่านวัตถุท้องฟ้านั้น ดังรูป รูป 11 การวัดมุมเงยของวัตถุท้องฟ้า

                  ค่ามุมเงยของวัตถุท้องฟ้ามีค่าอยู่ระหว่าง 0-90o ถ้ามุมเงยมีค่าเป็น 0o แสดงว่าวัตถุท้องฟ้า ปรากฎอยู่บนเส้นขอบฟ้าพอดี และถ้ามุมเงยมีค่าเท่ากับ 90o แสดงว่าวัตถุท้องฟ้าอยู่บนศีรษะผู้สังเกตพอดี ค่ามุมเงยของวัตถุท้องฟ้าจะเปลี่ยนไปเมื่อผู้สังเกตเปลี่ยน ตำแหน่งไป วัตถุท้องฟ้าที่มีค่ามุมเงยเท่ากันจะปรากฎอยู่บนตำแหน่งที่แตกต่างกันได้ ดังนั้นเมื่อบอกค่ามุมเงยของวัตถุท้องฟ้าเพียงอย่าง เดียวจะไม่สามารถบอกตำแหน่งของวัตถุได้แน่นอนจึงต้องบอกทิศของวัตถุท้องฟ้าด้วย