หลักการวิเคราะห์และออกแบบระบบฐานข้อมูล

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
HO Session 14: Database Design Principles
Advertisements

กาจัดการข้อมูลพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
บทที่ 2 เทคนิคการปรับปรุงคุณภาพ
การเสนอโครงการวิทยานิพนธ์
กรอบแนวทางการทำงาน Dummy Project
จัดการฐานข้อมูลด้วย Microsoft Access 2007
Distributed Administration
กิจกรรมที่ 5 การประมวลผลข้อมูล
แผนการสอน วิชา Database Design and Development
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
อ.กิตติพงศ์ เซ่งลอยเลื่อน อาจารย์พิเศษ มหาวิทยาลัยแม่โจ้
   ฮาร์ดแวร์ (Hardware)               ฮาร์ดแวร์เป็นองค์ประกอบสำคัญของระบบสารสนเทศ หมายถึง เครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์รอบข้าง รวมทั้งอุปกรณ์สื่อสารสำหรับเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์เข้าเป็นเครือข่าย.
บทที่ 2 รูปแบบของฐานข้อมูล.
บทที่ 3 ระดับของสารสนเทศ.
สถาปัตยกรรมฐานข้อมูล
Computer Code เลขฐานสอง bit (binary digit ) 1 byte = A.
บทที่ 8 การออกแบบข้อมูล (Data Design) โครงสร้างข้อมูล (Data Structure)
ระบบฐานข้อมูล ข้อมูลมีความสำคัญมากต่อองค์การ ดังนั้นจะต้องมีการจัดเก็บที่เป็นระบบ สามารถค้นหาได้ง่าย เพื่อที่นำมาใช้ให้ทันเวลา ในการตัดสินใจของผู้บริหาร.
บทที่ 1. พื้นฐานความรู้ทั่วไป
Management Information Systems
บรรยายโดย สุรางคนา ธรรมลิขิต
Databases Design Methodology
การออกแบบแบบจำลองข้อมูล
ซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์ในการวิเคราะห์โครงสร้าง
Chapter 2 Database systems Architecture
บทที่ 8 การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ
บทบาทการบริหารงานสำนักงาน 1
โครงร่างการวิจัย (Research Proposal)
สถาปัตยกรรมของระบบฐานข้อมูล
การออกแบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
การจัดทำคู่มือ การปฏิบัติงาน Work Manual
โครงสร้างการจัดเก็บข้อมูลเชิงกายภาพ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
การออกแบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
รูปแบบที่เป็นบรรทัดฐาน
การเขียนรายงานการวิจัย
บทที่ 7 การเรียงลำดับภายนอก External sorting
บทที่ 8 การจัดเรียงแฟ้มลำดับเชิงดรรชนี
การออกแบบฐานข้อมูลและการบริหารธุรกิจ
หลักการวิเคราะห์และออกแบบระบบฐานข้อมูล
รายวิชา ระบบฐานข้อมูล 1 หลักการวิเคราะห์และออกแบบระบบฐานข้อมูล
Charter 8 1 Chapter 8 การจัดการฐานข้อมูล Database Management.
Charter 7 1 Chapter 7 การจัดการไฟล์ข้อมูล Data File Management.
การวัดและประเมินผลผู้เรียน
เรื่องข้อมูลและสาระสนเทศ
บทที่ 3 การวิเคราะห์ Analysis.
Data Modeling Chapter 6.
โครงสร้างข้อมูลคืออะไร ?
บทนำเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
การวิเคราะห์และออกแบบระบบฐานข้อมูล
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ (Relational Database)
วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ เรื่อง. หลักการทำงาน และ
ระบบฐานข้อมูล (Database Management System)
1. รายการเปลี่ยนแปลง (Transaction)
A Comparison on Quick and Bubble sort on large scale data
การจัดการฐานข้อมูล.
ง การงานอาชีพและเทคโนโลยี 1 ครูสหรัฐ บัวทอง
การพัฒนานวัตกรรมการศึกษา
การออกแบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
Access 2003 คืออะไร Access 2003 เป็นโปรแกรมที่ใช้ในการ จัดการกับฐานข้อมูล ซึ่งจะช่วยให้เรา จัดการกับข้อมูลปริมาณมากๆ ได้ ง่ายดาย เช่นการจัดเก็บข้อมูล,
Chapter 1 : Introduction to Database System
ระบบฐานข้อมูล.
Data Structure and Algorithms
Introduction to Database
ฟิสิกส์คืออะไร ฟิสิกส์ เป็นวิทยาศาสตร์ที่ว่าด้วยการศึกษาเกี่ยวกับ พฤติกรรมธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต สสาร พลังงาน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ รวมไปถึง ปรากฏการณ์ที่เกิดตามธรรมชาติต่างๆ.
บทที่ 5 การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
แผนภูมิองค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
การวางแผนและการเขียนโครงการวิจัย
ใบสำเนางานนำเสนอ:

หลักการวิเคราะห์และออกแบบระบบฐานข้อมูล Chapter10 OOAD

บทที่ 10 การออกแบบฐานข้อมูลเชิงกายภาพ หัวข้อในการนำเสนอ กระบวนการในการออกแบบฐานข้อมูลเชิงกายภาพ การออกแบบฐานข้อมูลโดยพิจารณาจากความเร็วในการประมวลผล การออกแบบฐานข้อมูลโดยพิจารณาเรื่องความคงสภาพของข้อมูล บทสรุป OOAD Object-Oriented Technology

กระบวนการในการออกแบบฐานข้อมูลเชิงกายภาพ จำนวนรีเลชันที่เกิดจากกระบวนการปรับบรรทัดฐาน คำจำกัดความของแอททริบิวท์แต่ละแอททริบิวท์ และลักษณะของข้อมูลที่จะต้องเก็บอยู่ในแอททริบิวท์ ความถี่ในการเข้าถึงข้อมูลของแต่ละรีเลชัน ไม่ว่าจะเป็นการสืบค้นข้อมูล การลบข้อมูล หรือการปรับปรุงข้อมูล ความต้องการในด้านต่างๆ เช่น ความเร็วที่ต้องการในการสืบค้นข้อมูล ความปลอดภัยของข้อมูล การสำรองข้อมูล และความคงสภาพของข้อมูล ความต้องการของเทคโนโลยีที่ใช้ เช่น ระบบจัดการฐานข้อมูลเป็นแบบใด อุปกรณ์ที่จะใช้เก็บฐานข้อมูลเป็นอย่างไร เป็นต้น OOAD Object-Oriented Technology

การออกแบบฐานข้อมูลโดยพิจารณาจากความเร็วในการประมวลผล การใช้เนื้อที่ในการจัดเก็บข้อมูล เทคนิคการจัดการแฟ้มข้อมูล OOAD Object-Oriented Technology

การออกแบบฐานข้อมูลโดยพิจารณาจากความเร็วในการประมวลผล การใช้เนื้อที่ในการจัดเก็บข้อมูล การออกแบบประเภทข้อมูลและขนาดของแอททริบิวท์ การยุบรวมรูปแบบบรรทัดฐาน OOAD Object-Oriented Technology

การออกแบบฐานข้อมูลโดยพิจารณาจากความเร็วในการประมวลผล การใช้เนื้อที่ในการจัดเก็บข้อมูล การออกแบบประเภทข้อมูลและขนาดของแอททริบิวท์ OOAD Object-Oriented Technology

การออกแบบฐานข้อมูลโดยพิจารณาจากความเร็วในการประมวลผล การใช้เนื้อที่ในการจัดเก็บข้อมูล การออกแบบประเภทข้อมูลและขนาดของแอททริบิวท์ OOAD Object-Oriented Technology แสดงการเปรียบเทียบประเภทข้อมูลของ DBMS ประเภทต่างๆ

การออกแบบฐานข้อมูลโดยพิจารณาจากความเร็วในการประมวลผล การใช้เนื้อที่ในการจัดเก็บข้อมูล การออกแบบประเภทข้อมูลและขนาดของแอททริบิวท์ OOAD แสดงการลดขนาดของรีเลชัน ”พนักงาน” โดยการออกแบบแอททริบิวท์ แผนก ให้อยู่ในรูปแบบของรหัส Object-Oriented Technology

การออกแบบฐานข้อมูลโดยพิจารณาจากความเร็วในการประมวลผล การใช้เนื้อที่ในการจัดเก็บข้อมูล การยุบรวมรูปแบบบรรทัดฐาน OOAD แสดงรีเลชันที่ผ่านการปรับบรรทัดฐาน โดยมีรูปแบบความสัมพันธ์แบบ 1:1 Object-Oriented Technology

การออกแบบฐานข้อมูลโดยพิจารณาจากความเร็วในการประมวลผล การใช้เนื้อที่ในการจัดเก็บข้อมูล การยุบรวมรูปแบบบรรทัดฐาน OOAD แสดงรีเลชันที่ผ่านการยุบรวมรูปแบบบรรทัดฐานจากรีเลชันที่มีความสัมพันธ์แบบ 1:1 Object-Oriented Technology

การออกแบบฐานข้อมูลโดยพิจารณาจากความเร็วในการประมวลผล การใช้เนื้อที่ในการจัดเก็บข้อมูล การยุบรวมรูปแบบบรรทัดฐาน OOAD แสดงรีเลชันที่ผ่านการปรับบรรทัดฐาน โดยมีรูปแบบความสัมพันธ์แบบ 1:M Object-Oriented Technology

การออกแบบฐานข้อมูลโดยพิจารณาจากความเร็วในการประมวลผล การใช้เนื้อที่ในการจัดเก็บข้อมูล การยุบรวมรูปแบบบรรทัดฐาน แสดงรีเลชันที่ผ่านการยุบรวมรูปแบบบรรทัดฐานจากรีเลชันที่มีความสัมพันธ์แบบ 1:M OOAD Object-Oriented Technology

การออกแบบฐานข้อมูลโดยพิจารณาจากความเร็วในการประมวลผล การใช้เนื้อที่ในการจัดเก็บข้อมูล การยุบรวมรูปแบบบรรทัดฐาน OOAD แสดงรีเลชันที่ผ่านการปรับบรรทัดฐานโดยมีรูปแบบความสัมพันธ์แบบ M:N Object-Oriented Technology

การออกแบบฐานข้อมูลโดยพิจารณาจากความเร็วในการประมวลผล การใช้เนื้อที่ในการจัดเก็บข้อมูล การยุบรวมรูปแบบบรรทัดฐาน OOAD แสดงรีเลชันที่ผ่านการยุบรวมรูปแบบบรรทัดฐาน จากรีเลชันที่มีความสัมพันธ์แบบ M:N Object-Oriented Technology

การออกแบบฐานข้อมูลโดยพิจารณาจากความเร็วในการประมวลผล เทคนิคการจัดการแฟ้มข้อมูล การจัดการแฟ้มข้อมูลแบบเรียงลำดับ (Sequential File Organizations) การจัดการแฟ้มข้อมูลแบบดัชนี (Indexed File Organizations) OOAD Object-Oriented Technology

การออกแบบฐานข้อมูลโดยพิจารณาเรื่องความคงสภาพของข้อมูล การกำหนดค่าข้อมูลพื้นฐาน (Default value) การควบคุมช่วงของข้อมูล (Range control) การควบคุมค่าว่าง (Null value control) การควบคุมการอ้างอิง (Referential Integrity) OOAD Object-Oriented Technology

บทสรุป ในการพิจารณาด้านความเร็วในการประมวลผล การออกแบบฐานข้อมูลเชิงกายภาพที่มีประสิทธิภาพจะพิจารณาจาก (1) การใช้เนื้อที่ในการจัดเก็บข้อมูลและ (2) การจัดการแฟ้มข้อมูล โดยถ้าแฟ้มข้อมูลมีการใช้เนื้อที่บนดิสก์น้อย ก็จะทำให้เวลาในการอ่านเขียนข้อมูลใช้เวลาน้อย ซึ่งโดยทั่วไปจะสามารถทำได้โดย การออกแบบประเภทข้อมูลและขนาดของแอททริบิวท์ให้มีขนาดที่เหมาะสมกับข้อมูลที่มีการจัดเก็บ และการยุบรวมรูปแบบบรรทัดฐานหรือการยุบรวมรีเลชัน เพื่อลดเวลาในการเชื่อมโยงรีเลชันหลายรีเลชันในกรณีที่ต้องมีการจัดการกับข้อมูลเป็นจำนวนมาก OOAD Object-Oriented Technology