การพยากรณ์โรคไข้เลือดออก พ.ศ. 2555

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การเพาะปลูกพืชฤดูแล้ง ปี 2556/57
Advertisements

ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
การจัดทำระบบข้อมูลสุขภาพพื้นที่ : จังหวัดลำพูน
ทิศทางการพัฒนา “อำเภอป้องกัน ควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน”
แผนการดำเนินงาน สคร.5 ลำดับที่ กิจกรรม ระยะเวลาดำเนินการ หมายเหตุ 1
มาตรฐานการป้องกันและควบคุมโรคมาลาเรีย ระดับจังหวัด
การเฝ้าระวังโรคทางระบาดวิทยา
ภาพรวมการจัดสรรงบประมาณในแต่ละโครงการของศูนย์ สช. ภาคกลาง ปี 2555
สถานการณ์/แนวทางการดำเนินงาน ป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกและคอตีบ
ไข้เลือดออก.
กลุ่มระบาดวิทยาและข่าวกรอง
สถานการณ์และการดำเนินงานโรคคอตีบจังหวัดยโสธร 12 พฤศจิกายน 2555
ประชุมwar room ครั้งที่ 3/2554
กลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์สาธารณสุข งานระบาดวิทยา 5 มิถุนายน 2557
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคไข้เลือดออก จังหวัดสุรินทร์
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคที่ เฝ้าระวังพิเศษ จังหวัดสุรินทร์ ณ วันที่ 19 สิงหาคม 2556 โดย งานระบาดวิทยา กลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์สาธารณสุข สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุรินทร์
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคที่เฝ้าระวังพิเศษจังหวัดสุรินทร์
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ1-19 ข้อมูลสะสมตั้งแต่ 1 มกราคม –19 เมษายน 2551 สัปดาห์ที่ 16_ปี2551 ต่อแสนประชากร เขตตรวจราชการ.
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ 1-18 ข้อมูลสะสมตั้งแต่ 4 มกราคม 2552_ 13 มิถุนายน 2552 สัปดาห์ที่ 23 ปี 2552 ต่อแสนประชากร ที่มา.
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ 1-18 ข้อมูลสะสมตั้งแต่ 3 มกราคม มกราคม สัปดาห์ที่ 2 ปี 2553 ต่อแสนประชากร.
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ 1-18 ข้อมูลสะสมตั้งแต่ 4 มกราคม 2552 _ 18 มกราคม 52 สัปดาห์ที่ 2_ปี2552 ต่อแสนประชากร ที่มา :
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนก ตามรายเขตตรวจราชการ 1-19 ข้อมูลสะสม ตั้งแต่ 1 มกราคม –9 สิงหาคม 2551 สัปดาห์ที่ 32_ ปี 2551 เขตตรวจราชการ ต่อแสนประชากร.
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ1-19 ข้อมูลสะสมตั้งแต่ 1 มกราคม - 10 พฤศจิกายน 2550 ต่อแสนประชากร ที่มา : สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด.
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนก ตามรายเขตตรวจราชการ 1-19 ข้อมูลสะสม ตั้งแต่ 1 มกราคม –9 กุมภาพันธ์ 2551 สัปดาห์ ที่ 6_ ปี 2551 เขตตรวจราชการ ต่อแสนประชากร.
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนก ตามรายเขตตรวจราชการ 1-19 ข้อมูลสะสม ตั้งแต่ 1 มกราคม – 10 พฤษภาคม 2551 สัปดาห์ที่ 19_ ปี 2551 เขตตรวจราชการ ต่อแสนประชากร.
ป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกปี 2555 นายแพทย์จิรโรจน์ ธีระเดชธนะพงศ์
น้องเลี้ยง : นายสุริโย ชูจันทร์ หน่วยงาน : สคร.ที่ 11 นครศรีธรรมราช
แนวทางการดำเนินการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกปี2550
สถานการณ์โรคที่เฝ้าระวัง ทางระบาดวิทยา พื้นที่รับผิดชอบ สคร. ที่ 6 ขก. ปี 2549 ( ณ สัปดาห์ 26 )
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ 1-18 ข้อมูลสะสมตั้งแต่ 3 มกราคม 2553–26 มิถุนายน 2553 สัปดาห์ที่ 25 ปี 2553 ต่อแสนประชากร ที่มา.
สถานการณ์โรคที่เฝ้าระวังทางระบาดวิทยา
กราฟที่ 1 อัตราป่วยโรคไข้เลือดออกในพื้นที่เขตตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ที่ 10 และ 12 ณ สัปดาห์ที่ 29 ( ข้อมูลตั้งแต่ 1 มกราคม.
ความคิดเห็นของข้าราชการเกี่ยวกับ สวัสดิการการรักษาพยาบาล พ.ศ. 2546
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สรุปผลการสำรวจ ความต้องการของประชาชนเกี่ยวกับ
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สิงหาคม.
พยากรณ์การเกิดโรคมาลาเรีย ปี 2555 โดยการวิเคราะห์อนุกรมเวลา ในพื้นที่สาธารณสุขเขต 15 และ 16.
การพยากรณ์โรคไข้เลือดออก ในพื้นที่ 7 จังหวัดภาคใต้ตอนบน ปี 2556
งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรคและภัยสุขภาพ
สถานการณ์โรคไข้เลือดออก
หลักสูตรพัฒนา SRRT เครือข่ายระดับตำบล
ไข้เลือดออก.
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน กุมภาพันธ์ 2555 ดรุณี โพธิ์ศรี งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน มีนาคม มีนาคม 2552 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
ทิศทางการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคติดต่อนำโดยแมลง ปี 2556
โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือนพฤษภาคม 2554 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน มกราคม 2557 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรคและภัยสุขภาพ
สถานการณ์โรคไข้เลือดออก จังหวัดอุดรธานี วันที่ 20 กันยายน 2553
การใช้ระบาดวิทยา เพื่อพัฒนาระบบเฝ้าระวังเหตุการณ์ในพื้นที่
รายงานสถานการณ์การระบาด 22 จังหวัด
โรคทางระบาดวิทยาที่มีอัตราป่วยสูง 10 ลำดับแรกของจังหวัดเลย สะสมตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม – 29 เมษายน 2555.
ผลการสำรวจความต้องการ ความ คาดหวัง และความพึงพอใจ ของภาคีเครือข่ายด้านการส่งเสริม สุขภาพและพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ในพื้นที่รับผิดชอบ ต่อศูนย์อนามัยที่
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา ธันวาคม 2553 งานระบาดวิทยา งานระบาดวิทยา สำนักงานสาธารณสุขอำเภอเมืองลำปาง.
สถานการณ์โรคติดต่อ ที่สำคัญ ประจำเดือน กรกฎาคม 2554 สถานการณ์โรคติดต่อ ที่สำคัญ ประจำเดือน กรกฎาคม 2554.
สรุปผลงานส่วนสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม ประจำปีงบประมาณ พ. ศ โครงการรณรงค์ฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า ประจำปี 2555 ระยะเวลาดำเนินการ วันที่ 1.
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
สถานการณ์โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือนมิถุนายน 2553 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ การป้องกันและปราบปรามยาเสพติด (ก่อนและหลัง การประกาศสงครามขั้นแตกหักเพื่อเอาชนะยาเสพติด) พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติ
การป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก อำเภอด่านซ้าย
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคที่เฝ้าระวังพิเศษจังหวัดสุรินทร์
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชน
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา กุมภาพันธ์ 2554 งานระบาดวิทยา งานระบาดวิทยา สำนักงานสาธารณสุขอำเภอเมืองลำปาง.
การดำเนินงานระบาดวิทยาปี 2558
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา มิถุนายน 2554 งานระบาดวิทยา งานระบาดวิทยา สำนักงานสาธารณสุขอำเภอเมืองลำปาง.
โรคติดต่อที่ต้องเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา
จำนวน อัตราป่วย / ตาย ด้วยโรคที่ เฝ้าระวัง ทางระบาดวิทยา 10 อันดับ จังหวัด สิงห์บุรี
จำนวน อัตราป่วย / ตาย ด้วยโรคที่เฝ้าระวัง ทางระบาดวิทยา 10 อันดับ จังหวัดสิงห์บุรี ( มิ. ย.2550)
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา ตุลาคม 2553 งานระบาดวิทยา งานระบาดวิทยา สำนักงานสาธารณสุขอำเภอเมืองลำปาง.
สถานการณ์โรคติดต่อ อำเภอกำแพงแสน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การพยากรณ์โรคไข้เลือดออก พ.ศ. 2555 นายเดชา สุคนธ์ นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ กลุ่มระบาดวิทยาและข่าวกรอง สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 2 จังหวัดสระบุรี

ความเป็นมา ปี 2553 กรมควบคุมโรค มีนโยบายให้หน่วยงานในสังกัดจัดทำพยากรณ์โรค หน่วยงานละ 1 เรื่อง ในปี 2554 สคร. 2 สระบุรี ได้จัดทำพยากรณ์โรคไข้เลือดออกในพื้นที่ที่มีโอกาสเกิดโรคสูง เพื่อทำนายการเกิดโรคระดับหมู่บ้านปี 2555 พ.ศ. 2555 ได้พัฒนาการพยากรณ์โรคไข้เลือดออก โดยใช้หลักทางสถิติ(Time Series Analysis) ในการคำนวณเพื่อให้การพยากรณ์เป็นไปตามหลักวิชาการมากขึ้น และได้หารูปแบบในการกำหนดพื้นที่เสี่ยงต่อการเกิดโรคสูงระดับหมู่บ้าน โดยประยุกต์ใช้แนวความคิดของการคำนวณหาค่า Sensitivity Accuracy Likelihood ratio รวมทั้งปรับปรุงระบบฐานข้อมูลให้มีความครอบคลุมปัจจัยที่เกี่ยวข้อง ครบถ้วน และทันสมัยมากขึ้น

วัตถุประสงค์ 1. เพื่อศึกษาระบาดวิทยาเชิงพรรณนาของโรคไข้เลือดออก 2.เพื่อพยากรณ์การเกิดโรคไข้เลือด ในพื้นที่รับผิดชอบของสำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 2 จังหวัดสระบุรีโดยใช้หลักการทางสถิติ ให้มีความถูกต้อง และความน่าเชื่อถือตามหลักวิชาการมากขึ้น

เครื่องมือที่ใช้ ข้อมูลโรคไข้เลือดออก นำมาจากฐานข้อมูลเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา (รง. 506) พ.ศ. 2546 – 2555 สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ ๒ จังหวัดสระบุรี ข้อมูลประชากรกลางปี ประเทศไทย จากสำนักงานสถิติแห่งชาติ พ.ศ. 2546 – 2553 ข้อมูลอื่นๆ เช่น สภาพภูมิอากาศ (ลานีญ่า) นำมาจาก Website ของกรมอุตุนิยมวิทยา

เครื่องมือที่ใช้ การวิเคราะห์ข้อมูลแบ่งเป็น 2 ส่วน คือ การวิเคราะห์ข้อมูลแบ่งเป็น 2 ส่วน คือ 1. การพยากรณ์โรค วิเคราะห์ด้วยโปรแกรม SPSS เวอร์ชั่น 14 ใช้วิธี Time series analysis แบบ Exponential Smoothing [Winters’ multiplicative] 2. การกำหนดพื้นที่เสี่ยงต่อการเกิดโรค วิเคราะห์พื้นที่เสี่ยงด้วยการหาความไว (sensitivity) และความถูกต้อง(accuracy) โดยการจำแนกรายหมู่บ้านที่มีรายงานผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกในแต่ละปีตามเงื่อนไขที่กำหนด (พ.ศ. 2546 – 2553) เปรียบเทียบกับ หมู่บ้านที่รายงานการเกิดโรคไข้เลือดออก พ.ศ. 2554 สถิติที่ใช้ คือ จำนวน อัตรา อัตราส่วน สัดส่วน

วิธีการศึกษา Time Place Person Time Series Analysis ระบาดวิทยาเชิงพรรณนา Time Series Analysis Time Place วิเคราะห์พื้นที่เสี่ยงโดยใช้หลัก Sensitivity Accuracy Person พยากรณ์โรค

สถานการณ์โรคไข้เลือดออก รูปที่ 1 อัตราป่วยโรคไข้เลือดออกต่อประชากรแสนคน สคร.2 สระบุรี ภาคกลาง และประเทศ พ.ศ. 2539 - 2554

รูปที่ 2 อัตราป่วยโรคไข้เลือดออก พื้นที่รับผิดชอบของ รูปที่ 2 อัตราป่วยโรคไข้เลือดออก พื้นที่รับผิดชอบของ สคร.2 สระบุรี รายจังหวัด พ.ศ. 2549 - 2554

รูปที่ 4 สัดส่วนกลุ่มอายุของผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก พื้นที่รับผิดชอบ สคร.2 สระบุรี พ.ศ. 2546 - 2554

รูปที่ 5 อัตราป่วยต่อประชากรแสนคนโรคไข้เลือดออก จำแนกตามระดับการศึกษาพื้นที่รับผิดชอบ สคร.2 สระบุรี พ.ศ. 2546-2554

รูปที่ 6 อัตราป่วยโรคไข้เลือดออก กลุ่มวัยแรงงาน พื้นที่รับผิดชอบ สคร.2 สระบุรี พ.ศ. 2546-2554

รูปที่ 7 อัตราป่วยโรคไข้เลือดออก กลุ่มผู้สูงอายุ พื้นที่รับผิดชอบ สคร.2 สระบุรี พ.ศ. 2546-2554

ตารางที่ 1 สัดส่วนของผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก จำแนกตามอาชีพ ในพื้นที่รับผิดชอบของ สคร. 2 สระบุรี พ.ศ. 2546 – 2554 อาชีพ 2546 2547 2548 2549 2550 2551 2552 2553 2554 นักเรียน 67.1 64.22 64.05 59.48 65.61 62.33 55.52 57.63 57.60 รับจ้าง,กรรมกร 10.41 13.43 15.72 17.98 15.34 17.52 19.73 20.44 22.96 ไม่ทราบ,นปค. 17.68 15.57 11.61 11.82 13.01 11.36 14.21 13.94 8.24 เกษตรกรรม 1.48 2.7 2.58 3.23 0.84 2.23 2.59 2.44 2.40 งานบ้าน 1.36 0.75 1.17 1.77 1.85 2.61 2.17 1.35 2.50 ค้าขาย 0.62 1.32 1.47 1.71 1.13 1.59 1.92 1.31 1.73 ข้าราชการ 0.86 1.07 1.58 1.22 0.48 0.89 0.92 0.79 1.51 ทหาร,ตำรวจ 0.12 0.44 0.82 0.3 0.6 0.83 นักบวช 0.72 0.05 0.33 0.19 0.06 ครู 0.11 0.25 0.10 เลี้ยงสัตว์ 0.08 0.04 บุคลากรสาธารณสุข 0.18 0.03 0.032 อื่นๆ 0.37 1 1.28 0.67 0.42 1.09 1.96

ฤดูกาล โรคไข้เลือดออกพบมากในช่วงฤดูฝน(มิถุนายน – ตุลาคม) และ มักพบการรายงานผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกสูงขึ้นในช่วงเดือน กรกฎาคม – สิงหาคม ของทุกปี(รูปที่ 8) และจากการศึกษารูปแบบการเกิดโรคในพื้นที่รับผิดชอบของ สคร2 จ.สระบุรี พบว่ารูปแบบของการระบาดไม่แน่นอน แต่ในช่วง 2 ปีที่ผ่านมามีแนวโน้มสูงขึ้น (รูปที่ 9) เหตุผลหนึ่งคาดว่าเกิดจากอิทธิพลของลานีญาซึ่งมักจะเกิด 1 – 2 ปี ทำให้มีฝนตกมาก น้ำท่วม ช่วงปลายปี(พฤศจิกายน – ธันวาคม) และมีฝนตกช่วงต้นปี(มกราคม – มีนาคม)

รูปที่ 8 จำนวนผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกสคร. 2 สระบุรี เปรียบเทียบกับค่า รูปที่ 8 จำนวนผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกสคร. 2 สระบุรี เปรียบเทียบกับค่า มัธยฐานจำแนกรายเดือน พ.ศ. 2554

รูปที่ 9 อัตราป่วยต่อประชากรแสนคนโรคไข้เลือดออก สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 2 จังหวัดสระบุรี พ.ศ. 2546 - 2555 2546 2547 2548 2549 2550 2551 2552 2553 2554 2555

การพยากรณ์โรคไข้เลือดออก รูปที่ 10 การพยากรณ์โรคไข้เลือดออก สคร.2 สระบุรี พ.ศ. 2555 2546 2547 2548 2549 2550 2551 2552 2553 2554 2555 Case

ตารางที่ 2 จำนวนผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกที่พยากรณ์ เปรียบเทียบกับค่ามัธยฐานย้อนหลัง 5 ปี

ตารางที่ 2 จำนวนผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกที่พยากรณ์ เปรียบเทียบกับจำนวนผู้ป่วยในระบบเฝ้าระวังโรคติดต่อ (รง.506) พื้นที่รับผิดชอบของ สคร. 2 สระบุรี พ.ศ. 2555

จำนวนผู้ป่วยคาดการณ์ ตารางที่ 2 จำนวนผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกที่พยากรณ์ เปรียบเทียบกับจำนวนผู้ป่วยในระบบเฝ้าระวังโรคติดต่อ (รง.506) พื้นที่รับผิดชอบของ สคร. 2 สระบุรี พ.ศ. 2555 เดือน จำนวนผู้ป่วยคาดการณ์ (ราย) จำนวนผู้ป่วยจริง มกราคม 100 94 กุมภาพันธ์ 96 127 มีนาคม 85 147 เมษายน 153 พฤษภาคม 116 110 มิถุนายน 182 192 กรกฎาคม 206 387 สิงหาคม 193 396 กันยายน 172 ตุลาคม 157 พฤศจิกายน 181 ธันวาคม 98

จำนวนหมู่บ้านที่รายงานโรคตามเงื่อนไข หมู่บ้านที่รายงานผู้ป่วยDF+DHF+DSS ปี54 total Positive Negative D+ TP (a) FN(b) a+b D- FP(c) TN(d) c+d a+c b+d Likelihood ratio =sensitivity/Specificity Sensitivity a/a+b Specificity d/c+d Accuracy (a+d)/(a+b+c+d)

การวิเคราะห์พื้นที่เสี่ยง จากข้อมูลย้อนหลังพบว่าพื้นที่มีรายงานผู้ป่วย 3 ปีขึ้นไปจะพบว่ามีรายงานในปีถัดมา 1 y + = พื้นที่ที่มีรายงานโรคไข้เลือดออก พ.ศ. 2553 - = พื้นที่ที่ไม่มีรายงานโรคไข้เลือดออก พ.ศ. 2553 2 y + = พื้นที่ที่มีรายงานโรคไข้เลือดออกติดต่อกัน 2 ปี (พ.ศ. 2552 – 2553 ) - = พื้นที่ที่ไม่มีรายงานโรคไข้เลือดออกติดต่อกันตั้งแต่ 2 ปี (พ.ศ. 2552 – 2553 )จำนวนหมู่บ้านที่ได้รับรายงานโรค พ.ศ. 2554 + = จำนวนหมู่บ้านที่เกิดโรคใน พ.ศ. 2554 - = จำนวนหมู่บ้านที่ไม่เกิดโรคใน พ.ศ. 2554

1 y + = พื้นที่ที่มีรายงานโรคไข้เลือดออก พ.ศ. 2553 - T 7 y 5 2 7 Sensitivity= 71.42857 Accuracy = 72.11538 27 70 97 Specificity= 72.16495 Likelihood ratio = 0.0554 32 72 6 y 11 13 84.61538 77.51938 89 116 76.72414 Likelihood ratio = 1.1029 38 91 5 y 43 8 51 75 75.16779 35 106 141 75.1773 1.1215 78 114 1 y + = พื้นที่ที่มีรายงานโรคไข้เลือดออก พ.ศ. 2553 - = พื้นที่ที่ไม่มีรายงานโรคไข้เลือดออก พ.ศ. 2553 2 y + = พื้นที่ที่มีรายงานโรคไข้เลือดออกติดต่อกัน 2 ปี (พ.ศ. 2552 – 2553 ) - = พื้นที่ที่ไม่มีรายงานโรคไข้เลือดออกติดต่อกันตั้งแต่ 2 ปี (พ.ศ. 2552 – 2553 ) .จำนวนหมู่บ้านที่ได้รับรายงานโรค พ.ศ. 2554 + = จำนวนหมู่บ้านที่เกิดโรคใน พ.ศ. 2554 - = จำนวนหมู่บ้านที่ไม่เกิดโรคใน พ.ศ. 2554

จำนวนหมู่บ้านที่ได้รับ รายงานโรค พ.ศ. 2554 + - 4 y 25 9 34 Sensitivity= 73.52941 Accuracy = 73.91304 45 128 173 Specificity= 73.98844 Likelihood ratio = 0.9938 T 70 137 3 y 65 32 97 67.01031 71.98697068 54 156 210 74.2857143 0.90206186 119 188 2 y 50 51 101 49.50495 65.37982565 227 475 702 67.6638177 0.73163106 277 526 1 y 400 489 889 44.99438 51.34255 109 231 340 67.94118 0.6623 509 720

จำนวนหมู่บ้านที่ได้รับ รายงานโรค พ.ศ. 2554 + - 7+ y 26 5 31 Sensitivity = 83.87097 Accuracy = 37.5969 156 71 227 Specificity = 31.27753 Likelihood ratio = 2.6815 T 182 76 6+ y 37 7 44 84.09091 50.90439 183 160 343 46.64723 1.8027 220 167 5+ y 43 9 52 82.69231 51.67224 280 266 546 48.71795 1.6974 323 275 1+ y + = พื้นที่ที่มีรายงานโรคไข้เลือดออกตั้งแต่ พ.ศ. ๒๕๕๓ ลงไป - = พื้นที่ที่ไม่มีรายงานโรคไข้เลือดออกตั้งแต่ พ.ศ. ๒๕๕๓ ลงไป 2+ y + = พื้นที่ที่มีรายงานโรคไข้เลือดออกไม่ติดต่อกันตั้งแต่ ๒ ปีย้อนหลังลงไป (พ.ศ. ๒๕๕๓ – ๒๕๕๒ ลงไป) - = พื้นที่ที่ไม่มีรายงานโรคไข้เลือดออกไม่ติดต่อกันตั้งแต่ ๒ ปีย้อนหลังลงไป (พ.ศ. ๒๕๕๓ – ๒๕๕๒ ลงไป) . จำนวนหมู่บ้านที่ได้รับรายงานโรค พ.ศ. 2554 + = จำนวนหมู่บ้านที่เกิดโรคใน พ.ศ. ๒๕๕๔ - = จำนวนหมู่บ้านที่ไม่เกิดโรคใน พ.ศ. ๒๕๕๔

จำนวนหมู่บ้านที่ได้รับ รายงานโรค พ.ศ. 2554 + - 4+ y 68 18 86 Sensitivity = 79.06977 Accuracy = 62.18035 263 394 657 Specificity = 59.96956 Likelihood ratio = 1.3185 T 331 412 3+ y 133 50 183 72.6776 65.04762 317 550 867 63.43714 1.1457 450 600 2+ y 101 284 64.43662 65.19158 544 1,025 1,569 65.32823 0.9864 727 1,126 1+ y 583 590 1,173 49.70162 59.66905 653 1,256 1,909 65.79361 0.7554 1,236 1,846

หมู่บ้านที่เสี่ยงต่อการเกิดโรค หมู่บ้านที่มีรายงานโรคไข้เลือดออกติดต่อกันตั้งแต่ 4 ปีขึ้นไป เหมาะสำหรับเป็นพื้นที่เสี่ยงต่อการเกิดโรค จำแนกรายจังหวัด อำเภอ และตำบล มีดังนี้ อำเภอเมือง ตำบลบ้านอิฐ(ม.4) ตำบลศาลาแดง(ม.3,5) อำเภอไชโย ตำบลราชสถิตย์(ม.1) อำเภอโพธิ์ทอง ตำบลอินทรประมูล(ม.2) ตำบลบางพลับ(ม2,4) อำเภอวิเศษชัยชาญ ตำบลศาลเจ้าโรงทอง(ม.6) ตำบลสี่ร้อย(ม.3) ตำบลไผ่จำศิล(ม.3) จังหวัดอ่างทอง

จังหวัดลพบุรี อำเภอเมือง เขตเทศบาล(ม3,6) ตำบลกกโก(ม.2,4) อำเภอเมือง เขตเทศบาล(ม3,6) ตำบลกกโก(ม.2,4) ตำบลเขาพระงาม (ม.7,9) ตำบลเขาสามยอด(ม.1,5,6) ตำบลถนนใหญ่(ม1,5) ตำบลท่าแค(ม.1,9) ตำบลท่าศาลา (ม.2,3) ตำบลนิคมสร้างตนเอง(ม.8) ตำบลป่าตาล(ม.1,2,3,6) ตำบลโพเก้าต้น(ม.1) ตำบลโก่งธนู(ม.5) อำเภอโคกสำโรง ตำบลโคกสำโรง (ม.4,5,9,15) ตำบลคลองเกต (ม.10) อำเภอชัยบาดาล ตำบลลำนารายณ์(ม.1,10) อำเภอพัฒนานิคม ตำบลพัฒนานิคม(ม.6,9) ตำบลช่องสาลิกา(ม.5,6) ตำบลมะนาวหวาน(ม.4) ตำบลโคกลุง(ม.8 ) ตำบลดีลัง(ม.1)

จังหวัดชัยนาท อำเภอเมือง ตำบลบ้านกล้วย(ม.5) อำเภอเมือง ตำบลบ้านกล้วย(ม.5) อำเภอมโนรมย์ ตำบลคุ้มสำเภา(ม.3,4) ตำบลไร่พัฒนา (ม.4) ตำบลท่าฉนวน (ม.5) อำเภอสรรคบุรี ตำบลแพรกศรีราชา(ม.8,15) ตำบลดงดอน(ม.5) ตำบลห้วยกรดพัฒนา(ม.3) ตำบลบางขุด (ม.2) อำเภอสรรพยา ตำบลตลุก(ม.7) อำเภอเสาไห้ ตำบลสวนดอกไม้(ม.1) อำเภอหนองแค ตำบลหนองแค(ม.1) ตำบลห้วยขมิ้น(ม.8) ตำบลห้วยทราย(ม.8)

จังหวัดสระบุรี อำเภอเมือง ตำบลปากเพรียว(ม.1,2,3,8) อำเภอเมือง ตำบลปากเพรียว(ม.1,2,3,8) ตำบลหนองโน (ม.1,3) ตำบลหนองยาว(ม.3) ตำบลหนองปลาไหล(ม.6) อำเภอแก่งคอย ตำบลตาลเดี่ยว(ม.1,7) ตำบลท่าตูม (ม.4) อำเภอเฉลิมพระเกียรติ ตำบลหน้าพระลาน(ม.4,6) ตำบลเขาดินพัฒนา(ม.7) ตำบลบ้านแก้ง(ม.4) อำเภอพระพุทธบาท ตำบลพระพุทธบาท(ม.8) ตำบลธารเกษม(ม.12) ตำบลเขาวง(ม.5) ตำบลห้วยป่าหวาย(ม.14) อำเภอมวกเหล็ก ตำบลมวกเหล็ก(ม.1,2) อำเภอเสาไห้ ตำบลสวนดอกไม้(ม.1) อำเภอหนองแค ตำบลหนองแค(ม.1) ตำบลห้วยขมิ้น(ม.8) ตำบลห้วยทราย(ม.8)

อภิปรายผล Person(กลุ่มอายุ ฯลฯ) ด้านอายุ ยังพบมากอยู่ในกลุ่มอายุ 10-14 ปี รองลงมาคือ กลุ่มอายุ 5-9 ปี 15-24 ปี และ 0-4 ปี โดยที่อายุของผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกจะพบในเด็กโตมากขึ้น ด้านอาชีพ นักเรียนยังเป็นกลุ่มที่สูงที่สุด อันดับสอง คือ อาชีพรับจ้าง,กรรมกร มีแนวโน้มสูงมากขึ้นอย่างต่อเนื่อง (ที่มา: ระบบเฝ้าระวังโรคติดต่อ; รง.๕๐๖ วิเคราะห์ด้วยโปรแกรม _VEP-analysis) Time(ช่วงเดือน) ช่วงเดือนที่มีการรายงานผู้ป่วยมากในช่วงเดือนกรกฎาคม – เดือนกันยายน ของทุกปี โดยที่เดือนสิงหาคม มักมีการรายงานผู้ป่วยไข้เลือดออกสูงสุด (ที่มา: ระบบเฝ้าระวังโรคติดต่อ; รง.๕๐๖ วิเคราะห์ด้วยโปรแกรม _VEP-analysis)

สรุป Forecast(การพยากรณ์การเกิดโรค) ในปี 2555 คาดว่าจะไม่มีการระบาดของโรคไข้เลือดออก Place(สถานที่) หมู่บ้านที่มีรายงานติดต่อกันอย่างน้อย ๔ ปีขึ้นไป sensitivity = 79.07 Accuracy = 62.18 PPV = 79.31

ข้อจำกัด การกำหนดพื้นที่เสี่ยงต่อการเกิดโรคไข้เลือดออก การศึกษานี้เป็นการวิเคราะห์ข้อมูลที่มีอยู่ในระบบเฝ้าระวังโรคติดต่อ(รง.506) คือ พ.ศ. 2546 – 2554 ของสคร.2 สระบุรี เท่านั้น ไม่ได้นำตัวแปร/ปัจจัยต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการเกิดโรคไข้เลือดออกในพื้นที่(หมู่บ้าน) เช่น serotype Herd Immunity ความชุกของการเกิดโรคแต่ละหมู่บ้าน(prevalence) ความหนาแน่นของประชากร ความเป็นชุมชนเมือง/ชนบท ผลการสำรวจลูกน้ำยุงลาย(ค่า HI / CI) เป็นต้น มาช่วยในการพิจารณาในการกำหนดพื้นที่เสี่ยงต่อการเกิดโรค

ข้อจำกัด การกำหนดพื้นที่เสี่ยงต่อการเกิดโรคไข้เลือดออก การศึกษานี้เปรียบเทียบข้อมูลการรายงานโรคเพียง 1 ปี (พ.ศ. 2554 เป็นปีที่มีการระบาดของโรคไข้เลือดออกสูง) ดังนั้นค่า sensitivity accuracy อาจแตกต่างเมื่อนำไปเปรียบเทียบกับปีที่มีการระบาดของโรคไข้เลือดออกต่ำ เช่นปี 2552 เป็นต้น

สรุป โรคไข้เลือดออกในพื้นที่รับผิดชอบของสคร2 ปี 2555 นี้ ส่วนใหญ่เด็กนักเรียน โดยเฉพาะช่วงอายุ 10-14 ปี พบมากที่สุด รวมทั้งกลุ่มวัยแรงงาน และกลุ่มผู้สูงอายุ มีแนวโน้มสูงขึ้นเช่นกัน ฤดูฝนพบโรคนี้มากที่สุด โดยเริ่มมีแนวโน้มสูงขึ้นในช่วงเดือนพฤษภาคม สูงสุดช่วงเดือนกรกฎาคม จากการใช้ Time series analysis วิเคราะห์เพื่อพยากรณ์โรคไข้เลือดออกในปี 2555 พบว่ารูปแบบการระบาดของโรคคล้ายปี 2552จึงไม่น่าจะมีการระบาดของโรคนี้ในปี 2555 ส่วนพื้นที่ที่เคยเกิดการระบาดติดต่อกันตั้งแต่ 4 ปีขึ้นไป ควรเฝ้าระวัง และดำเนินการป้องกันโรคก่อนเกิดการระบาดจริงในพื้นที่ แต่ทั้งนี้ความเหมาะสมที่จะเลือกใช้ ความไว(sensitivity) และความถูกต้อง(Accuracy) ขึ้นอยู่กับดุลพินิจของแต่ละคน ว่าจะมีเป้าหมายในการกำหนดพื้นที่ให้ได้มาก หรือ น้อย เพียงใด

ข้อเสนอแนะ สคร.2 สระบุรี 1. พ.ศ. 2554 กลุ่มระบาดวิทยาและข่าวกรอง ได้ดำเนินการแจ้งเตือนพื้นที่เสี่ยงต่อการเกิดโรคไข้เลือดออกผ่าน รายงานเฝ้าระวังประจำเดือนแล้ว 2. พ.ศ. 2555 กลุ่มตอบโต้ฯ ได้นำข้อมูลพื้นที่เสี่ยงต่อการเกิดโรคไข้เลือดออก ไปดำเนินการป้องกันควบคุมโรคแล้ว

ข้อเสนอแนะ ระดับจังหวัด 1. เฝ้าระวังโรค โดยเฉพาะในพื้นที่ ที่มีการระบาดของโรคไข้เลือดออก พร้อมทั้งแจ้งเตือนทันทีเมื่อมีรายงานผู้ป่วยสงสัยโรคไข้เลือดออก เพื่อให้ทีม SRRT เร่งออกสอบสวนและควบคุมโรคเบื้องต้น 2. ประสานงานพื้นที่ที่มีการระบาดของโรคให้มีการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรค โดยเน้นการดำเนินการประชาสัมพันธ์การป้องกันควบคุมโรค เรื่อง 3 ร (โรงเรียน โรงเรือน โรงพยาบาล) และ 5 ป (ปิดฝาภาชนะกักเก็บน้ำทุกชนิด เปลี่ยนน้ำทุกๆ ๗ วัน ปล่อยปลากินลูกน้ำในภาชนะกักเก็บน้ำ ปรับปรุงสิ่งแวดล้อมเพื่อไม่ให้เป็นที่เพาะพันธุ์ของยุง และปฏิบัติตนเองจนเป็นนิสัย)

ข้อเสนอแนะ ระดับจังหวัด 3. ออกติดตามการดำเนินงานตามนโยบาย 3 ร 5 ป 4. ส่งรายงานสถานการณ์โรคไข้เลือดออกให้กับภาคท้องถิ่น ภาคเอกชนและหน่วยงานของรัฐ ในพื้นที่ให้รับทราบปัญหาของโรคไข้เลือดออกเพื่อสร้างความร่วมมือในการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก

ระดับอำเภอ 1. เฝ้าระวังโรค โดยเฉพาะในพื้นที่ที่มีการระบาดของโรคไข้เลือดออก พร้อมทั้งแจ้งเตือนทันทีเมื่อมีรายงานผู้ป่วยสงสัยโรคไข้เลือดออก เพื่อให้ทีม SRRT เร่งออกสอบสวนและควบคุมโรคเบื้องต้น 2. สอบสวนควบคุมโรค โดยเฉพาะรายแรกของชุมชน/หมู่บ้าน 3. ประชาสัมพันธ์การป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก เรื่อง 3 ร 5 ป 4. ประสานหน่วยงานในพื้นที่ร่วมกัน ในการป้องกันควบคุมโรค และร่วมรณรงค์การป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก

ระดับ พื้นที่(ตำบล/หมู่บ้าน) 1. ระดมงบประมาณ กำลังคน และวัสดุอุปกรณ์ทุกภาคส่วนในพื้นที่ (รพ.สต. เทศบาล/อบต. และภาคเอกชนในพื้นที่) ร่วมกันสำรวจ และกำจัดยุงและลูกน้ำยุงลายในพื้นที่ โดยเฉพาะหมู่บ้านที่มีการระบาดของโรคไข้เลือดออกอย่างต่อเนื่อง 2. ประชาสัมพันธ์และสร้างความร่วมมือจากประชาชนในการร่วมกันกำจัดยุงและลูกน้ำยุงลายภายในบ้านและบริเวณบ้านของตนเอง 3. สร้างขวัญและกำลังใจ (ให้รางวัล หรือกล่าวคำชมเชย หรือ การประกาศให้เป็นครอบครัวตัวอย่างปลอดลูกน้ำยุงลาย โดยผู้นำชุมชน เป็นต้น) ให้กับเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานอย่างจริงจังและเข้มข้นในพื้นที่โดยเฉพาะ อสม. ประชาชนผู้ให้ความร่วมมืออย่างสม่ำเสมอ เป็นต้น

ภาคเอกชน ประสานความร่วมมือเจ้าของโรงงาน/บริษัท/ห้างร้าน หรือผู้แทน ที่รับผิดชอบโรงงาน/บริษัท/ ห้างร้านในการรณรงค์ควบคุมโรคไข้เลือดออกในกลุ่มพนักงาน เช่น การประกาศนโยบายบ้านพนักงานปลอดลูกน้ำยุงลาย และร่วมสำรวจลูกน้ำยุงลาย รวมทั้งมีบทลงโทษหากพบลูกน้ำยุงลายในบ้านพนักงานในโรงงาน/บริษัท/ห้างร้าน ของตนเอง บริการสาธารณสุขใกล้บ้าน 

ระดับประชาชน การป้องกันไม่ให้ยุงกัด โดยการใช้สารเคมีกำจัดยุง หรือทายากันยุง อย่างถูกวิธี กำจัดยุงและลูกน้ำยุงลายในบ้านและบริเวณบ้าน ศึกษาหาความรู้เรื่องโรคไข้เลือดออก และการให้ความร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องชุมชนในการกำจัดยุง และลูกน้ำยุงลาย ทุกสัปดาห์ หากสมาชิกในครอบครัวมีไข้สูงตลอดเวลา ควรพาไปพบแพทย์ หรือสถานบริการสาธารณสุขใกล้บ้าน 

Thank you 44