What SRRT/IHR should be able to……

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สมาชิกกลุ่ม 1. คุณกรองแก้ว ศุภวัฒน์ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ 2. คุณศิริมา ปัทมดิลก กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ 3. นายแพทย์รุ่งเรือง กิจผาติ
Advertisements

ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
การป้องกันควบคุมโรค ในเขตสุขภาพ
ทิศทางการพัฒนา “อำเภอป้องกัน ควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน”
ประเด็นยุทธศาสตร์ พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ปี
ความร่วมมือระหว่างประเทศ ACMECS และ MBDS
นายแพทย์พรเทพ ศิริวนารังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค
ประธานกลุ่ม : คุณสยาม เลขานุการกลุ่ม : คุณรัตนา ผู้นำเสนอ : คุณศรัญญา, คุณจรรยวรรธน์ สรุปผลการประชุม กลุ่มที่ 5.
การส่งเสริมสุขภาพและการควบคุมป้องกันโรค ในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
การเฝ้าระวัง การสอบสวน และผลกระทบ เนื่องจากสารเคมีอันตราย
ปฏิญญาอุบลบุรี เราจะร่วมผลักดันบทบาทของกรมอนามัย ในการอภิบาล ระบบส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมของประเทศ เราเห็นพ้องต้องกันต่อการขับเคลื่อน โดยยึดหลัก.
บทบาทและแนวทางในการพัฒนา ทีม SRRT ต่อการควบคุมภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข
“Hazard Identification and Risk Assessment” การประเมินและการจัดการความเสี่ยง ในภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข นพ.สุรศักดิ์ เกษมศิริ กลุ่มปฏิบัติการควบคุมโรคและตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางด้านสาธารณสุข.
29-2 ธันวาคม 2553 โรงแรมกิจตรงวิลล์ รีสอร์ท อุบลราชธานี
กรอบความร่วมมือด้านผลิตภัณฑ์อาหารสำเร็จรูป
กลุ่มที่ ๑ การเตรียมข้อมูล Academic Program และ Field Trip ของการประชุม 2nd Pan Asia Pacific Congress on Military Medicine วัตถุประสงค์ เพื่อให้ได้กรอบและแนวคิดของ.
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
คุณลักษณะที่ ๒ มีระบบระบาดวิทยาที่ดีในระดับอำเภอ
นพ.ศรายุธ อุตตมางคพงศ์ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 7 อุบลราชธานี
การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย ผลิตไฟฟ้าเพื่อความสุขของคนไทย
“การสนับสนุนเครือข่ายให้มีการพัฒนาการดำเนินงานอำเภอควบคุมโรค เข้มแข็งแบบยั่งยืน กรมควบคุมโรค ปี 2555” โดย ดร.นายแพทย์อนุพงค์ สุจริยากุล ผู้อำนวยการสำนักงานควบคุมป้องกันโรค.
อำเภอ ป้องกันควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน นพ.พงศ์ธร ชาติพิทักษ์
ป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกปี 2555 นายแพทย์จิรโรจน์ ธีระเดชธนะพงศ์
น้องเลี้ยง นางสาวปภานิจ สวงโท หน่วยงานสำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 5 จังหวัดนครราชสีมา
สรุปภาพรวมการดำเนินงานที่ผ่านมา
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
ระบบเครือข่ายข้อมูลความปลอดภัยด้านอาหารระหว่างประเทศ
รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
โครงการอาหารปลอดภัย ปลอดโรคในโรงเรียน และศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
ผู้อำนวยการสำนักการแพทย์
การเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ (Diseases & Health Hazard Surveillance )
น.พ.ณรงค์ศักดิ์ อังคะสุวพลา อธิบดีกรมอนามัย
คบส Powerpoint by Mr.Prachasan Saenpakdee M.P.H.
แนวคิดในการปรับปรุงรูปแบบและพัฒนามาตรฐานทีม SRRT
โครงการสร้างความร่วมมือ ภาคีเครือข่ายในการพัฒนา รูปแบบการเฝ้าระวังป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ในพื้นที่สาธารณสุขเขต 2.
MOPH operation center MOPH operation center 20 May 2009.
การใช้ระบาดวิทยาเพื่อสนับสนุน SRRT ด้านบริหารจัดการ
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 10 เน้นชุมชนให้มี การพัฒนา ระบบสุขภาพ อย่างครบวงจรใน รูปเครือข่าย โครงการพัฒนา เครือข่ายฯ ประสานจังหวัด เลือกผู้นำชุมชน / ผู้สื่อข่าว.
International Health Regulation in Border Area Practical context Muk-SVK- QT 2nd June, 2014 Pasakorn Akarasewi.
การเตรียมความพร้อม เข้าสู่ประชาคมอาเซียน
แนวคิดการพัฒนางานระบาดวิทยาระดับเขต
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
มาตรการป้องกันควบคุม โรคติดต่อในช่วงฤดูฝน - ให้คปสอ. ทุกแห่งเร่งรัดดำเนินการดังนี้ ๑. การป้องกัน (Protection) ๑. ๑ สนับสนุนการฝึกอบรมแก่บุคลากรทางการแพทย์ด้านการ.
นายแพทย์ชนินันท์ สนธิไชย 22 กันยายน 2553
วัตถุประสงค์ของ หน่วยงาน 1. ถ่ายทอดองค์ความรู้ และ แนวทางการดำเนินการ ป้องกัน ควบคุมโรค งานอนามัย สิ่งแวดล้อม และงาน อา ชีวอนามัย ที่ได้มาตรฐาน 2. ดำเนินการป้องกันควบคุมโรค.
ชุมชนเข้มแข็ง ด้านการ เตรียมพร้อมป้องกันภัยธรรมชาติ
ประชุม war room ควบคุมโรคเขตเมือง ครั้งที่ 2 /2555
1111 การขับเคลื่อน สู่ เป้าหมายกรม ควบคุมโรค ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ดร. นายแพทย์พรเทพ ศิริวนา รังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค 17 พฤษภาคม 2555.
นโยบายและทิศทางการพัฒนาทีม SRRT ปี 2558
การนำเสนอคำของบดำเนินงานโครงการปี 2559
ผศ.ดร.จรวยพร ศรีศศลักษณ์ สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข 26 มกราคม 2558
แผนพัฒนาระบบควบคุมโรค การพัฒนากำลังคนด้านระบาดวิทยา
ด้านการพัฒนาระบบควบคุมโรค
กระทรวงสาธารณสุข และอาเซียน
ธีรนารถ Jan Experiences in GMP Inspection in WHO Vaccine Prequalification Scheme ธีรนารถ จิวะไพศาลพงศ์ กองชีววัตถุ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
สำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนา หลักประกันสุขภาพไทย Health Insurance System Research Office Social Protection Floor: Situation and Way Forward Thaworn Sakunphanit.
คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 ผู้บัญชาการ และฝ่ายข้อมูลและยุทธศาสตร์
ระบบมาตรฐานการจัดการสิ่งแวดล้อม
การจัดองค์กรและกำหนดงานในภาวะฉุกเฉิน
แนวทางการพัฒนา EOC กรมควบคุมโรค
ระบบบัญชาการเหตุการณ์และ ศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข
แผนการดำเนินงาน Highlight ปี 2559
ขอต้อนรับ อธิบดีกรมควบคุมโรค
สรุปงานและทิศทางการพัฒนางานควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข
แนวทางการพัฒนางานป้องกันควบคุมโรค ของกรมควบคุมโรค
Comprehensive School Safety
แพทย์หญิงประนอม คำเที่ยง
ใบสำเนางานนำเสนอ:

What SRRT/IHR should be able to…… Attain IHR Core capacities (Surveillance, Response and other 8 core capacities) Able to identify and detect PHEIC Act to initiate early response and coordination

บทบาทและความสำคัญ ของกฎอนามัยระหว่างประเทศ ต่อการเฝ้าระวัง ควบคุมโรคและภัยสุขภาพ นายแพทย์ภาสกร อัครเสวี ผู้อำนวยการสำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข

International Public Health Security … 1980 -2010 HIV/AIDS Chernobyl Plague Ebola / Marburg NvCJD Nipah Anthrax SARS meningitis Avian & Pandemic Influenza cholera Chemical spill Botulism

International Tourist Arrivals, 1950-2020 จำนวนนักท่องเที่ยวขาเข้าทั่วโลก ตั้งแต่ปี 1950 – 2007 มีจำนวนเพิ่มขึ้นทุกปีในทุกทวีป มากที่สุดก็ยุโรป รองๆ ลงไปก็อเมริกา และเอเชีย และหากคาดการณ์ต่อไปจนถึงปี 2020 ก็ยังคงมีปริมาณเพิ่มมากขึ้น Source: World Tourism Organization (UNWTO) 4

Our world is changing as never before Population growth/demographic change Climate change Society increasingly mobile Microbes adapt Chemical, radiation, food risks increase Health security is at stake The unique conditions of the 21st century have amplified the invasive and disruptive power of epidemics and other public health emergencies. The dynamics of disease spread in the world have changed greatly in the last decades. We all are living in a global “village” where diseases can travel at the speed of jetliners on the wings of international travel and trade, and can jump from one continent to another in a matter of hours. This has made all nations vulnerable – not just to invasion of their territories by pathogens, but also to the economic, political and social shocks of public health events elsewhere. They have the power to disrupt the entire global system in ways that cannot be controlled by one nation acting alone.   SARS was the first disease of the 21st century to expose the world’s vulnerabilities. It will not be the last. Shared vulnerabilities imply shared responsibilities and create a need for strong collective action to protect lives and livelihoods from disease spread. To address these public health risks, the world's countries, through WHO, initiated an intensive process to revise the IHR, eventually adopted by the World Health Assembly in May 2005. 5 5

IHR Risks In the context of Thailand Priority hazards to Public Health Infectious Diseases Emerging Disease and Animal-Human Interface Natural Disasters and Extreme Climate Change Chemical and Environmental Health Food Safety and consumer products……

Ocean-liked-In-land Massive Floods in Central Plain, Thailand.

Factors >> increase the risk Incidence and existing burden of Infectious diseases, outbreaks Increase International trade and travel Animal-Human Interface Zoonosis, wild life trade route Threats from EID – H5, Flu etc Extreme changes of climate and frequent disaster threats (floods, cold, drought, storms, Fogs etc) Chemical misuse, industries, waste and exposure Food Safety – Import, Export, inadequate regulation and controllers. Cross borders population and migrants, one community ASEAN 2015 (potential of) Biohazards and Laboratory incident

ความเป็นมาของกฎอนามัยระหว่างประเทศ พ.ค 2548 สมาชิกองค์การอนามัยโลกลงมติรองรับกฎอนามัยระหว่างประเทศฉบับใหม่ (IHR2005) 5 มิ.ย 2550 คณะรัฐมนตรีเห็นชอบให้ปฏิบัติตามกฎอนามัยโลกตั้งแต่วันที่ 15 มิถุนายน 2550 15 ม.ค 2551 คณะรัฐมนตรีอนุมัติแผนพัฒนางานด้านกฎอนามัยระหว่างประเทศ 2551-2555

วัตถุประสงค์ของกฎอนามัยระหว่างประเทศ เพื่อป้องกัน ควบคุมโรค/ภัยสุขภาพและภาวะฉุกเฉินทางด้านสาธารณสุข

ความสำคัญของกฎอนามัยระหว่างประเทศ กฎอนามัยฯ ฉบับแรก พ.ศ.2512 (1969) ประเทศไทยนำข้อตกลงมากำหนดใน พ.ร.บ. โรคติดต่อ พ.ศ.2523 และ พ.ร.บ การสาธารณสุข พ.ศ. 2535 กฎอนามัยฯ ฉบับใหม่จะช่วยป้องกัน ไม่ให้มี หรือ ลด การใช้โรคติดต่อระหว่างประเทศในการกีดกันทางการค้า ปกปิดข้อมูล การใช้มาตรการที่รุนแรงเกินความจำเป็นเช่น การกักตัว การห้ามเข้าประเทศ การละเมิดสิทธิส่วนบุคคล

ความสำคัญของกฎอนามัยระหว่างประเทศ(ต่อ) ทุกประเทศสมาชิกจะต้องพัฒนา สร้างสมรรถนะหลักของประเทศในการดำเนินการเฝ้าระวังและแก้ไขภาวะฉุกเฉินทางด้านสาธารณสุขทั้งในและระหว่างประเทศ ดังนั้นเป็นโอกาสดีของประเทศไทยที่จะพัฒนาศักยภาพการเฝ้าระวังและควบคุมปัญหาโรคและภัยสุขภาพภายในประเทศและระหว่างประเทศให้ได้ตามมาตรฐานสากล

7 Strategic Actions to Guide IHR implementation

Public health system Epidemiology Ports Laboratory Airports Case management Infection control Social mobilisation Communication … Ports Airports Ground crossings 23 of 66 articles in the IHR and 8 of 9 annexes directly address travel, trade, and transport.

Timeline in years 2007 2009 2012 2014 2016 Planning Implementation 2 + 3 + (2) + (2) "As soon as possible but no later than five years from entry into force …"

Intelligence Verification Risk assessment Response (GOARN) Logistics … Influenza polio SARS smallpox cholera meningitis yellow fever food safety chemical safety radionuclear safety …

IHR Roster of Experts Emergency Committee Review Committee Progress report to EB and WHA Indicators / Studies ….

National IHR Core Capacity Requirements 8 Core capacities Legislation and Policy Coordination Surveillance Response Preparedness Risk Communications Human Resources Laboratory 3 levels National Intermediate Peripheral/Community Potential Hazards Biological Infectious Zoonosis Food safety Chemical Natural Disaster**** Radiological and nuclear Events at Points of Entry

ตั้งแต่ระดับหมู่บ้าน ตำบล อำเภอ และจังหวัด ทั้งประเทศ วิสัยทัศน์ ประเทศไทยมุ่งมั่น พัฒนาระบบเฝ้าระวังโรค/ภัยสุขภาพและ ภาวะฉุกเฉินทางด้านสาธารณสุขไปในทางเดียวกันและสามารถตรวจจับภัยคุกคามด้านสาธารณสุขที่เกิดขึ้นหรืออาจเกิดขึ้นได้ทันท่วงที และดำเนินการรับมือได้อย่างทั่วถึง ตั้งแต่ระดับหมู่บ้าน ตำบล อำเภอ และจังหวัด ทั้งประเทศ

Conclusion: IHR requires capacities at each level Event alert verification Assessment Intl response Regional & International level Assessment Notification Response National level Assessment Confirmation Response Intermediate level Local level - Detection of event Reporting Controlling 21 21

New level of core capacities, coordination ที่คาดหวังในอนาคตอันใกล้ ตามข้อเสนอใน WHA ประเทศสมาชิกมีแผนหลัก IHR National Response Plan and Coordination Mechanism (expected) มีผู้ทำหน้าที่เป็นศูนย์กลางการให้ข่าวสารอย่างรวมศูนย์ (= National Spoke-person) มีการรวมกฎหมาย แนวปฎิบัติของประเทศในทิศทางเดียวกัน (Legal consolidation, in line or comply with IHR Regulation) ในภาวะฉุกเฉินมีการจัดตั้งระบบสั่งการรวมศูนย์ (National committee and Incident Command System)

IHR – ศักยภาพและขีดความสามารถในระดับที่ต้องการ มีความพร้อมรับมือกับภัยสุขภาพทุกรูปแบบ According to WHA - Expand to cover all threats (radiology, chemicals, disaster etc) ประเทศสมาชิกแต่งตั้งผู้ประสานงานอย่างเป็นทางการ และสามารถปฎิบัติหน้าที่ได้ ๒๔ ชั่วโมง มีการประเมินผลตามกรอบมาตรฐานโดย (by WHO or appropriate agencies) มีระบบรายงานเหตุและเครือข่ายในระดับท้องถิ่น (Event Reporting, Alert network) มีศักยภาพระดับมาตรฐานครบทุกหัวข้อ พัฒนากฎหมาย แนวปฎิบัติสอดคล้อง สามารถปฎิบัติได้ (Legal compliance - by articles)

New requirement level of capacities Event based surveillance, and timely notify Risk Assessment and Management Implement – national, and sub-national, cross border, port facilities Multi-Sectors Involvement of – agriculture, industry, military, interior, commerce, tourism, private sectors (as necessary by sector)

Thank you for your attentions and comments