การเลี้ยงเป็ด รูปแบบการเลี้ยงเป็ดในประเทศไทย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ทฤษฎีใหม่.
Advertisements

คำขอขึ้นทะเบียน ตามแบบกปม/ทบ2 (ผู้ประกอบการประเภทอื่นๆ)
“แนวทางในการปล่อยพันธุ์สัตว์น้ำ”
ระบบวางแผนพัฒนาการใช้ดิน
ไม้ดอกไม้ประดับงามตา ตำแหน่ง ครูผู้ช่วย โรงเรียนบ้านท่าเกวียน
ทะเบียนเกษตรกร กรมส่งเสริมการเกษตร.
นิยามศัพท์ทางด้านอาหารสัตว์ และการจำแนกวัตถุดิบอาหารสัตว์
วัตถุดิบอาหารสัตว์ที่เป็นแหล่งของโปรตีนที่มาจากสัตว์
เศรษฐกิจพอเพียง.
ปุ๋ยหมักชีวภาพ Effective Microorganisms
เกษตรตามแนว ทฤษฏีใหม่
การวางแผนและการดำเนินงานส่งเสริม
คำถามของการบริหารการค้าปลีก
องค์ประกอบพื้นฐานของฟาร์มเลี้ยงสัตว์
ภาวะเศรษฐกิจการเกษตรของไทย
Free Trade Area Bilateral Agreement
เศรษฐกิจแบบพอเพียง.
ก า ร เ ลี้ ย ง ป ล า ใ น น า ข้า ว
โครงการที่ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนปรับโครงสร้างการผลิตภาคเกษตรเพื่อเพิ่มขีดความสามารถการแข่งขันของประเทศ.
โครงการเร่งรัฐปฏิบัติการด่วน (เพื่อคนไทย) หรือโครงการปฏิบัติการประชาวิวัฒน์ ยุทธศาสตร์การสร้างระบบเศรษฐกิจที่เท่าเทียมและเป็นธรรม.
จัดทำโดย ด.ช.วริศ วิโรจนวัธน์
เทคโนโลยีชีวภาพ แก๊สชีวภาพ นำเสนอโดย 1. นายทรงศักดิ์ ศรีสันติสุข 2
เสนอ รศ.สุวิทย์ วรรณศรี รายวิชา BIOL351 ชีววิทยาของสัตว์ในท้องถิ่น
การเลี้ยงปลากะพงขาว.
การเลี้ยงปลาดุกบิ๊กอุยในบ่อซิเมนต์
การจัดการน้ำเสียจากฟาร์มสุกร โดยใช้เทคโนโลยีชีวภาพ
สถานการณ์การเคลื่อนย้ายสัตว์ เข้าในจังหวัดพิจิตร ประจำเดือน กุมภาพันธ์(วันที่ 21ม.ค.54. – 20 ก.พ.54)
การปรับปรุงฐานข้อมูลเกษตรกรผู้เลี้ยงสัตว์ ประจำปี 2557
โครงการพัฒนาปศุสัตว์อินทรีย์ ปี 2555
กลุ่มพัฒนาเทคโนโลยีการปศุสัตว์
โรคขาดอาหารและ/ พยาธิ
การใช้ยอดอ้อยเลี้ยงโค- กระบือ ทดแทนอาหารหยาบในฤดูแล้ง
หลักการสำคัญของเกษตรอินทรีย์
การพิจารณาเลือกระบบบำบัดน้ำเสีย
การทำธุรกิจแบบยั่งยืน การตลาดแบบแม่ไก่อารมณ์ดี
3. ข้อมูลแหล่งน้ำที่พัฒนา
ลักษณะของรายงาน 1. คำนำ 2. สารบัญ 3. เนื้อหาที่รายงาน
สาระการเรียนรู้การงานอาชีพ และเทคโนโลยี
บทที่ 3 การวิเคราะห์ Analysis.
การผสมเทียม   การผสมเทียม (Artificial insemination) หมายถึง การทำให้เกิดการปฏิสนธระหว่างไข่กับอสุจิ ที่มนุษย์เป็นผู้ทำให้เกิดการปฏิสนธิ โดยนำน้ำเชื้ออสุจิจากสัตว์ตัวผู้ที่เป็นพ่อพันธุ์ไปผสมกับไข่ของสัตว์ตัวเมียที่เป็นแม่พันธุ์
การลดภาษีของออสเตรเลีย
โครงการขยายผลการเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่งในแม่น้ำตากใบสืบเนื่องมาจากพระราชดำริ (ในสมเด็จพระนางเจ้าฯพระบรมราชินีนาถ) ดำเนินการโดย ศูนย์วิจัยและพัฒนาประมงชายฝั่งนราธิวาส.
ดำเนินการโดย ศูนย์วิจัยและพัฒนาประมงชายฝั่งนราธิวาส
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
โดย โรงพยาบาลร้องกวาง
ข้อมูลภาวะการผลิตพืชรายเดือน (รต.)
************************************************
ข้อมูลภาวะการผลิตพืชรายเดือน (รต.)
สำนักงานเกษตรอำเภอแก่งกระจาน
ล้างพิษได้ใน “หนึ่งวัน”
โครงงานคุณธรรมธุรกิจ เรื่องน้ำหมักชีวภาพอเนกประสงค์ คณะผู้จัดทำ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนหนองบัวพิทยาคม   โรงเรียนหนองบัวพิทยาคม อำเภอท่าวังผา.
บริษัท AEK บรีดเดอร์ฟาร์ม สาขา ฟาร์มหนองเขิน
เกษตรทฤษฎีใหม่.
การพัฒนาระบบการผลิตไก่พื้นเมืองฯ เพื่อสร้างโอกาส
มาตรฐานฟาร์มเลี้ยงสัตว์
หลักการและเหตุผล. - ปี หนอนกออ้อยระบาดขยาย
โครงการปรับปรุงพื้นที่นาร้างเพื่อปลูกข้าว ปี 2553
เพื่อช่วยหาความสัมพันธ์ของ ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง และกำหนด เขตของพื้นที่เป้าหมาย และ ขอบเขตงาน รูปแบบ เดิม แผ่นใส ซ้อนทับ ปัจจุบัน GIS.
การผลิตเนื้อโคขุนโพนยางคำ
การเลี้ยงปลาดุกในบ่อพลาสติก (เกษตรพอเพียง)
ส่วนสุขภาพสัตว์ สำนักงานปศุสัตว์เขต 6 สรุปผลการปฏิบัติงานรอบ 12 เดือน ประจำปีงบประมาณ 2557.
สรุปผลการจัดตั้งตลาดเกษตรกร ของสหกรณ์การเกษตรสบปราบ จำกัด จังหวัดลำปาง
ประชุมสัมมนา เจ้าหน้าที่ส่งเสริมปศุสัตว์สู่ Smart Officer
สรุปรายงานการเคลื่อนย้ายสัตว์ – ซากสัตว์ ของด่านกักกันสัตว์พิจิตร ประจำเดือน มกราคม 2554.
ปฏิทินการประชุม คณะกรรมการบริหารศูนย์ฯ ม.ค.ม.ค. ก.พ.ก.พ. มี. ค. เม. ย. พ.ค.พ.ค. มิ. ย. ก.ค.ก.ค. ส.ค.ส.ค. ก.ย.ก.ย. ต.ค.ต.ค. พ.ย.พ.ย. ธ.ค.ธ.ค
กรอบระยะเวลาการขึ้นทะเบียนผู้ปลูกข้าว รอบที่ 1 ภาคกลาง ภาคตะวันออก ภาคตะวันตก ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคเหนือ และภาคใต้ที่ปลูกเหมือนภาคอื่นๆ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

4.1.2 การเลี้ยงเป็ด รูปแบบการเลี้ยงเป็ดในประเทศไทย ก. เพื่อการบริโภคภายในครัวเรือนหรือการเลี้ยงแบบหลังบ้าน ส่วนใหญ่มักจะเป็นการเลี้ยงเป็ดพื้นเมืองเป็นหลัก เลี้ยงกันมากในชนบท โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อใช้ไข่หรือเนื้อเป็นอาหารภายในครัวเรือนหรือขายกันภายในหมู่บ้าน

นอกจากนี้ในหลายแห่งยังมีการเลี้ยงเป็ดเทศ หรือเป็ดปั๊วใฉ่กันด้วย ทั้งนี้เพื่อใช้เนื้อเป็นอาหาร ข้อดีของการเลี้ยงเป็ดในระดับรายย่อยก็คือ เป็ดจะมีโรคระบาดน้อยกว่าไก่ มีอัตราการเลี้ยงรอดสูงกว่า แต่เป็ดต้องการน้ำ หรือแหล่งน้ำอยู่บ้าง เป็ดมักจะทำให้เกิดการเปียกชื้น และสกปรกได้ง่ายกว่าไก่ (สมชาย ศรีพูล, 2549) จำนวนเป็ดในประเทศไทยแสดงไว้ในตารางที่ 2.6

ข. การเลี้ยงในระบบอุตสาหกรรม คือ การเลี้ยงกันเป็นจำนวนมาก มีหลายรูปแบบ คือ 1) การเลี้ยงแบบไล่ทุ่ง (Normadic system) ใช้กันทั้งเป็ดเนื้อและเป็ดไข่ แต่มักใช้กันในเป็ดเนื้อมากกว่า เป็นการเลี้ยงที่มีมานานหลายสิบปีแล้วของเกษตรกรแถบจังหวัดอยุธยา สุพรรณบุรี นครปฐม และฉะเชิงเทรา

จะแบ่งการเลี้ยงออกเป็น 2 ฤดู คือหลังฤดูการทำนาปรังและฤดูการทำนาปี เมื่อเกี่ยวข้าวเสร็จแล้ว วิธีการคือจะมีการเลี้ยงเป็ดเล็กในโรงเรือนจนอายุได้ประมาณ 1 เดือน หลังจากนั้นจะปล่อยลงทุ่งนาเพื่อเก็บกินเมล็ดข้าวที่เหลือ และกินกุ้ง หอย ปู ปลา ในทุ่งนา เป็นระยะเวลาประมาณ 3 เดือน ทั้งนี้เพื่อเป็นการประหยัดค่าอาหาร

จากนั้นจึงต้อนเป็ดเข้าโรงเรือน เพื่อนำไปขุนต่ออีกประมาณ 1 เดือนเพื่อเป็นเป็ดเนื้อ หรือเพื่อเตรียมเป็นเป็ดไข่ต่อไป ในท้องที่ที่มีการทำนาปรังจะทำให้เป็ดอยู่ในทุ่งสั้นกว่า 3 เดือน ทำให้ต้องต้อนเป็ดไปหากินที่อื่นหรือต้องเข้าโรงเรือนเร็วกว่าปกติ ต้องเสียค่าใช้จ่ายเพิ่มขึ้น (ภาพที่ 2.15-2.17)

ภาพที่ 2.15 การเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง ที่มา: โฟโต้บั้กดอทเน็ท (2554)

ภาพที่ 2.16 การเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง ที่มา: โฟโต้บั้กดอทเน็ท (2554)

ภาพที่ 2.17 การเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง ที่มา: โฟโต้บั้กดอทเน็ท (2554)

2) การเลี้ยงแบบปล่อยลาน (Extensive system) การเลี้ยงแบบนี้จะต้องมีลานดิน และบ่อน้ำอยู่ใกล้กับโรงเรือน เป็ดจะกินอาหารนอกโรงเรือน และจะลงน้ำ ทำให้ลดความหนาแน่นของเป็ดในบางเวลา เป็ดจะใช้พลังงานไปในกิจกรรมต่าง ๆ มากกว่าแบบการเลี้ยงในโรงเรือน การเลี้ยงแบบนี้จะพบได้ทั่วไป อาหารที่ใช้เลี้ยงจะเป็นอาหารข้น วิธีนี้มักใช้กันในการเลี้ยงเป็ดไข่ (ภาพที่ 2.18)

ภาพที่ 2.18 การเลี้ยงเป็ดแบบปล่อยลาน ที่มา: พิษณุโลกฮ็อตนิวส์ดอทคอม (2554)

3) การเลี้ยงในโรงเรือน (Intensive system) จะเป็นการเลี้ยงคล้ายไก่ ให้เป็ดอยู่ภายในโรงเรือนตลอด แต่จะต้องจัดพื้นที่ให้เป็ดได้สัมผัสกับน้ำบ้าง ทำให้บางพื้นที่อาจจะเปียกแฉะบ้าง การลี้ยงแบบนี้ ต้องลงทุนมาก แต่จะได้ผลตอบแทนสูง อาหารที่ใช้เลี้ยงจะเป็นอาหารข้น การเลี้ยงแบบนี้มักจะเป็นเป็ดเนื้อ (ภาพที่ 2.19-2.20)

ภาพที่ 2.19 การเลี้ยงเป็ดแบบขังคอก ที่มา: บิ๊กดัชท์แมนดอทเดอ (ม.ป.ป.)

ภาพที่ 2.20 การเลี้ยงเป็ดแบบขังคอก ที่มา: วี-รีฟอร์มดอทโออาร์จี (2555)

ตารางที่ 2.6 สถิติเป็ดในประเทศไทยแสดงเป็นรายภาค 2542-2551 (ตัว) ที่มา: กรมปศุสัตว์ (2556)

5. บทสรุป กิจการการเลี้ยงสัตว์ของประเทศไทยเพิ่งจะเริ่มมีความสำคัญทางเศรษฐกิจมาไม่กี่ปีนี้เอง โดยมีการขยายการเลี้ยงสัตว์ออกเป็นการเลี้ยงแบบอุตสาหกรรม จนกระทั่งปัจจุบันได้มีการจำหน่ายไก่ชำแหละแช่แข็งออกไปจำหน่ายยังประเทศญี่ปุ่นและประเทศอื่น ๆ นำเงินตราเข้าประเทศมากมาย

แต่ก็ยังจำกัดอยู่ในแวดวงของบริษัทใหญ่ ๆ 2-3 บริษัทเท่านั้น การเลี้ยงสุกรก็เช่นกัน จำนวนผู้เลี้ยงรายย่อยลดลง เหลือเพียงผู้เลี้ยงสุกรรายใหญ่